Page 132 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำโกลก
P. 132

3-71







                                    (4.3.1)   พื้นที่ปาที่มีสมรรถนะของดินเหมาะสมตอการเกษตร

                                    (4.3.2)  พื้นที่ที่เหมาะสมตอการเกษตรตามนัยมติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับ
                  การกําหนดชั้นคุณภาพลุมน้ําและการจําแนกเขตการใชประโยชนที่ดินในพื้นที่ปาชายเลน

                             2)  มติคณะรัฐมนตรีเรื่องการกําหนดชั้นคุณภาพลุมน้ําและมาตรการการใชที่ดิน

                  ในเขตชั้นคุณภาพลุมน้ําตางๆ
                                ชั้นคุณภาพลุมน้ําหมายถึงการแบงเขตพื้นที่ลุมน้ําตามลักษณะกายภาพและศักยภาพ

                  ทางอุทกวิทยาและทรัพยากรธรรมชาติเพื่อประโยชนการจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดลอมอยางมีประสิทธิภาพ
                  ในลุมน้ํานั้นๆ พื้นที่ทั้งหมดของลุมน้ําจะถูกจําแนกออกเปน 5 ระดับมีลักษณะดังนี้

                                พื้นที่ลุมน้ําชั้นที่ 1 เปนพื้นที่ลุมน้ําที่ควรสงวนไวเปนพื้นที่ตนน้ําลําธารโดยเฉพาะ

                  เนื่องจากวาอาจมีผลกระทบตอสิ่งแวดลอมจากการเปลี่ยนแปลงการใชที่ดินไดงายและรุนแรง โดยมี
                  การแบงออกเปน 2 ระดับชั้นยอย คือ พื้นที่ลุมน้ําชั้นที่ 1 เอ ไดแก พื้นที่ตนน้ําลําธารที่ยังมีสภาพปาสมบูรณ

                  พื้นที่ลุมน้ําชั้นที่ 1 บี เปนพื้นที่ที่สภาพปาสวนใหญไดถูกทําลายดัดแปลงหรือเปลี่ยนแปลงเพื่อ
                  การพัฒนาหรือการใชที่ดินรูปแบบอื่นกอน พ.ศ. 2525

                               พื้นที่ลุมน้ําชั้นที่ 2 เปนพื้นที่ที่มีคาดัชนีชั้นคุณภาพลุมน้ําตามที่การศึกษาเพื่อ

                  จําแนกชั้นคุณภาพลุมน้ําของแตละลุมน้ําไดกําหนดไว พื้นที่ดังกลาวเหมาะตอการเปนตนน้ําลําธาร
                  ในระดับรองจากลุมน้ําชั้นที่1สามารถนําพื้นที่ลุมน้ําชั้นนี้ไปใชเพื่อประโยชนที่สําคัญอยางอื่นได เชน

                  การทําเหมืองแร เปนตน
                                พื้นที่ลุมน้ําชั้นที่ 3 เปนพื้นที่ที่สามารถใชประโยชนไดทั้งการทําไม เหมืองแร

                  และการปลูกพืชกสิกรรมประเภทไมยืนตน
                               พื้นที่ลุมน้ําชั้นที่ 4 โดยสภาพปาของลุมน้ําชั้นนี้ไดถูกบุกรุกแผวถางเปนที่ใชประโยชน

                  เพื่อกิจการพืชไรเปนสวนใหญ

                                พื้นที่ลุมน้ําชั้นที่ 5 พื้นที่นี้โดยทั่วไปเปนที่ราบหรือที่ลุมหรือเนินลาดเอียงเล็กนอย
                  และสวนใหญปาไมไดถูกแผวถางเพื่อประโยชนดานเกษตรกรรมโดยเฉพาะการทํานาและกิจการอื่นไปแลว


                        3.3.2  กฎหมายที่เกี่ยวของกับทรัพยากรดิน
                             กฎหมายดานทรัพยากรดินเปนกฎหมายที่เกี่ยวของทั้งดานสิทธิ์ในที่ดิน การจัดที่ดิน

                  การใชที่ดิน รวมถึงการอนุรักษดินและน้ําไดแก

                             1)  ประมวลกฎหมายที่ดิน 2497 เปนกฎหมายที่เกี่ยวของกับสิทธิ์ในที่ดิน โดยวางหลักเกณฑ
                  เกี่ยวกับการขอเอกสารแสดงการครอบครองหรือสิทธิในที่ดินรวมทั้งหลักเกณฑในการออกเอกสาร

                  ดังกลาว เชน โฉนดและหนังสือรับรองการทําประโยชนประมวลกฎหมายที่ดินใหอํานาจอธิบดีกรมที่ดิน
                  หรือผูที่รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทยมอบหมายใหเปนผูดูแลที่ดินของรัฐที่มิไดอยูในความดูแล





                  แผนการใชที่ดินลุมน้ําสาขาแมน้ําโกลก
   127   128   129   130   131   132   133   134   135   136   137