Page 135 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำโกลก
P. 135

3-74





                  เครื่องมือเครื่องใชและวัสดุจําเปนโดยการชวยเหลือดานอากรขาเขาสําหรับอุปกรณเหลานี้ สําหรับ

                  โทษของการฝาฝนพระราชบัญญัติฉบับนี้มีโทษทั้งทางแพงและทางอาญา

                             2)  พระราชบัญญัติโรงงานอุตสาหกรรม พุทธศักราช 2535 โดยควบคุมการใชที่ดินเพื่อ

                  การอุตสาหกรรม โดยกําหนดขนาดของเครื่องจักรและคนงานขั้นต่ําอยูในขายควบคุมโดยให
                  อํานาจแกรัฐมนตรีในการควบคุมการประกอบกิจการ ในดานที่ตั้งสภาพแวดลอมลักษณะอาคาร

                  สภาพภายในโรงงาน การปลอยของเสียมลพิษ ความปลอดภัยเพื่อประโยชนทางเศรษฐกิจ การอนุรักษ

                  สิ่งแวดลอมความมั่นคง ความปลอดภัยของประเทศหรือของสาธารณะ

                        3.3.4  นโยบายที่เกี่ยวของกับการจัดทําเขตการใชที่ดินระดับลุมน้ํา

                             1)  แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

                                ถือเปนแนวทางและหลักเกณฑในการดําเนินงานของหนวยงานภาครัฐปจจุบัน
                  ประเทศไทยใชแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559) โดยมีแนวคิดที่มี

                  ความตอเนื่องของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 8-10 โดยยึดหลัก “เศรษฐกิจพอเพียง” และ “คนเปนศูนยกลาง

                  ของการพัฒนา” รวมทั้งสรางสมดุลการพัฒนาในทุกมติและขับเคลื่อนใหบังเกิดผลในทางปฏิบัติ
                  ที่ชัดเจนยิ่งขึ้นในทุกระดับ

                                แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 นี้ ไดเรงสรางภูมิคุมกันเพิ่มขึ้นในมติตางๆ ใหเขมแข็ง

                  ควบคูไปกับการใหความสําคัญกับการพัฒนาคนและสังคมไทยใหมีคุณภาพกาวทันคือการเปลี่ยนแปลง

                  มีโอกาสเขาถึงทรัพยากรและไดรับประโยชนจากการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมอยางเปนธรรม
                            2)  นโยบายพัฒนาการเกษตรของกระทรวงเกษตรและสหกรณ

                                กรอบการดําเนินงานของกระทรวงเกษตรและสหกรณมีความสอดคลองกับ

                  แผนการบริหารราชการแผนดิน การดําเนินการตามแนวนโยบายพื้นฐานแหงรัฐภายใตรัฐธรรมนูญ

                  พ.ศ. 2550 มีนโยบายที่สําคัญดังนี้
                                (2.1)  นโยบายปรับโครงสรางเศรษฐกิจภาคเกษตร

                         -              ดานการพัฒนาเกษตรกรและสถาบันเกษตรกรโดยสงเสริมใหมีระบบประกัน

                  ความเสี่ยงสําหรับเกษตรกร จัดตั้งกองทุนสวัสดิการเกษตรจัดทําทะเบียนเกษตรกร เรงรัดแกไขปญหา
                  หนี้สิน และฟนฟูอาชีพเกษตรกร สงเสริมและพัฒนาสถาบันเกษตรกร สรางและพัฒนาเกษตรกรรุนใหม

                  และสรางและพัฒนาเกษตรกรอาสาสมัคร

                           -             ดานการพัฒนาการผลิต โดยจัดทํายุทธศาสตรการพัฒนาสินคาเกษตรระยะยาว
                  เปนรายสินคา พัฒนาคุณภาพผลผลิตและพัฒนาระบบตรวจสอบมาตรฐานสินคา กําหนดเขตสงเสริม

                  และพัฒนาการผลิตวิจัยและพัฒนาพันธุและเทคโนโลยีที่เหมาะสม รวมเจรจาทางการคาสินคาเกษตร

                  ระหวางประเทศ สงเสริมและพัฒนาการผลิตพืชทดแทนพลังงาน สงเสริมการทําประมงนอกนานน้ํา





                                                                        กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   130   131   132   133   134   135   136   137   138   139   140