Page 116 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำโกลก
P. 116

3-55





                                6) ศักยภาพการใชเครื่องจักร (w)

                                7) ความเสียหายจากการกัดกรอน (e)

                                  การจําแนกชั้นความเหมาะสมของที่ดินไดจําแนกชั้นความเหมาะสมออกเปน 4 ชั้น
                  (Class) และกําหนดชั้นความเหมาะสมในแตละชั้นความเหมาะสมออกเปนชั้นยอย (Subclass) ตามขอจํากัด

                  ของคุณภาพที่ดินที่มีอิทธิพลของพืชหลักตามประเภทการใชที่ดิน ทั้งนี้ ใชวิธีการประเมินจากกลุมของ

                  คุณลักษณะที่ดินที่มีขอจํากัดรุนแรงที่สุด ทั้งนี้ สามารถจัดชั้นความเหมาะสมของที่ดินได 4 ชั้น คือ

                                   S1 : ชั้นที่มีความเหมาะสมสูง
                                   S2 : ชั้นที่มีความเหมาะสมปานกลาง

                                   S3 : ชั้นที่มีความเหมาะสมเล็กนอย

                                   N : ชั้นที่ไมมีความเหมาะสม
                                  ผลจากการประเมินความเหมาะสมของที่ดินของลุมน้ําสาขาแมน้ําโกลกสามารถ

                  จําแนกการจัดชั้นความเหมาะสมของที่ดินในระดับชั้นยอยโดยแยกเปนเขตเกษตรที่อาศัยน้ําฝน

                  (ตารางที่ 3-15) และเขตพื้นที่เกษตรน้ําฝนมีการใชน้ําจากแหลงน้ําตามธรรมชาติและแหลงน้ําใตดิน
                  ในการเพาะปลูกพืช (ตารางที่ 3-16) มีรายละเอียดดังนี้

                                 1)  เขตพื้นที่เกษตรน้ําฝน จากการสํารวจภาคสนามในเขตพื้นที่ลุมน้ําสาขาแมน้ําโกลก

                  ไดดําเนินการประเมินความเหมาะสมของที่ดินตามประเภทการใชประโยชนที่ดินและไดจัดทําการ

                  ประเมินความเหมาะสมของที่ดินตามพืชทางเลือกที่สามารถสงเสริมใหเพาะปลูกในลุมน้ําสาขาแมน้ําโกลก
                  มีรายละเอียดดังนี้

                                     (1)  ความเหมาะสมของที่ดินตามประเภทการใชประโยชนที่ดิน ในลุมน้ําสาขา

                  แมน้ําโกลก ประกอบดวย ยางพารา ปาลมน้ํามัน มะพราว นาขาว มีความเหมาะสมของที่ดินตาม
                  คุณลักษณะของที่ดินดังนี้

                                       ยางพารา

                                        - ชั้นดินมีความเหมาะสมปานกลาง (S2) ไดแก หนวยที่ดิน 26 26B 26C

                  26D 32 32B 34 34B 34C 34D 53C 53D 57M 58M  โดยมีขอจํากัด คือ  ความชุมชื้นที่เปน
                  ประโยชนตอพืช ความจุในการดูดยึดธาตุอาหาร ความเปนประโยชนของธาตุอาหาร สภาวะการหยั่งลึก

                  ของราก ความเสียหายจากการกัดกรอน ศักยภาพการใชเครื่องจักร

                                        - ชั้นดินมีความเหมาะสมเล็กนอย (S3)ไดแก หนวยที่ดิน 2M 6M 13/14M

                  14M 17M 26E 32gm 34gm  50E 53E 57 58 โดยมีขอจํากัด คือ ความเปนประโยชนของออกซิเจน
                  ตอรากพืช ศักยภาพการใชเครื่องจักร ความเสียหายจากการกัดกรอน







                  แผนการใชที่ดินลุมน้ําสาขาแมน้ําโกลก
   111   112   113   114   115   116   117   118   119   120   121