Page 115 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำโกลก
P. 115

3-54





                  3.2  การประเมินคุณภาพที่ดิน

                        การประเมินคุณภาพที่ดินดานกายภาพเปนการวิเคราะหศักยภาพของหนวยที่ดินตอการใช

                  ประโยชนที่ดินประเภทตางๆ ในระดับการจัดการที่แตกตางกัน วิธีการประเมินคุณภาพที่ดินมีหลายวิธี

                  กลุมวางแผนทรัพยากรน้ําเพื่อการพัฒนาที่ดินไดเลือกใชวิธีการประเมินคุณภาพที่ดินตามหลักการของ

                  FAO Framework ซึ่งมีจํานวน 2 รูปแบบ คือ
                        1)  การประเมินทางดานคุณภาพ เปนการประเมินเชิงกายภาพวาที่ดินนั้นๆ มีความเหมาะสมมากหรือ

                  นอยเพียงใดตอการใชประโยชนที่ดินประเภทตางๆ

                        2)  การประเมินทางดานปริมาณหรือเศรษฐกิจ ซึ่งจะใหคาตอบแทนในรูปผลผลิตที่ไดรับ
                  จํานวนเงินในการลงทุนและจํานวนเงินจากผลตอบแทนที่ไดรับ

                          3.2.1   การประเมินคุณภาพที่ดินดานกายภาพ

                              การศึกษาไดดําเนินการประเมินคุณภาพที่ดินทางกายภาพเพียงดานเดียว โดยศึกษาการ

                  ประเมินคุณภาพดินรวมกับประเภทการใชประโยชนที่ดินที่ไดกําหนดเปนตัวแทนการเกษตรกรรมหลักในลุม
                  น้ําสาขา รวมทั้งยังไดประเมินคุณภาพที่ดินจากพืชที่ควรแนะนําในลุมน้ําสาขาแมน้ําโกลก การวิเคราะหได

                  คํานึงถึงปจจัยที่มีผลตอการเจริญเติบโตของพืชในแตละดานของดินที่แตกตางกัน โดยอาศัยคุณลักษณะ

                  ดินแตกตางกันไปตามวัตถุตนกําเนิดของดิน ซึ่งคุณลักษณะที่ดินที่ใชในการแสดงคาเพื่อวัดระดับการ
                  เจริญเติบโตแตกตางกัน

                                การเลือกคุณลักษณะที่ดินเพื่อใชเปนตัวแทนคุณภาพที่ดินในการประเมินความเหมาะสม

                  ที่ดินตามระบบ FAO  กําหนดในระบบไว 25 ชนิด สําหรับประเทศไทยใชคุณลักษณะดินเพื่อใชเปน

                  ตัวแทนคุณภาพที่ดินในการประเมินความเหมาะสมที่ดิน 13 ชนิด โดยตัวแทนคุณภาพที่ดินแตละตัว
                  มีขอจํากัดในการเลือกใชจากปจจัยดาน 1) มีผลตอพืชหรือประเภทการใชที่ดินนั้นๆ 2) พบคาวิกฤต

                  ในพื้นที่ปลูกนั้นๆ 3) การรวบรวมขอมูลตองสามารถปฏิบัติไดจริงจากเงื่อนไขดังกลาว จําเปนตองจัดลําดับ

                  ความสําคัญคุณภาพที่ดินกอนที่จะนํามาประเมิน ตามเงื่อนไขการคัดเลือกคุณภาพที่ดิน
                              เมื่อทําการจัดลําดับความสําคัญแลวพบวา เงื่อนไขหลักขึ้นอยูกับการรวบรวมขอมูล

                  คุณลักษณะที่ดิน ดังนั้นเมื่อนํามาใชในการประเมินความเหมาะสมทางกายภาพของพืชตางๆ ในเขต

                  ลุมน้ําสาขา จึงมีปจจัยหลัก 7 ปจจัย ที่นํามาวิเคราะห ดังนี้
                                 1)  ความชุมชื้นที่เปนประโยชนตอพืช (m)

                                2)  ความเปนประโยชนของออกซิเจนตอรากพืช (o)

                               3)  ความเปนประโยชนของธาตุอาหาร (s)
                               4)  ความจุในการดูดยึดธาตุอาหาร (n)

                                5)  สภาวะการหยั่งลึกของราก (r)





                                                                        กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   110   111   112   113   114   115   116   117   118   119   120