Page 121 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำโกลก
P. 121

3-60





                  พิจารณาประกอบการวางแผนการใชที่ดิน ผลการวิเคราะหจําแนกตามประเภทการใชประโยชนที่ดิน

                  ในพื้นที่ลุมน้ําสาขาแมน้ําโกลก ดังนี้

                             1) การประเมินตนทุนและรายไดจากการผลิตพืช
                                เขตเกษตรน้ําฝน  สํารวจจํานวน 5 หนวยที่ดิน คือ หนวยที่ดินที่ 6 17 32B 34B และ

                  53C ดังนี้

                                ขาวเจานาป สํารวจจํานวน 2 หนวยที่ดิน คือ หนวยที่ดินที่ 6 และ 17 เกษตรกรปลูก

                  ขาวเจานาป (นาดํา) พันธุเล็บนกปตตานี ผลผลิตเฉลี่ย 398.50 และ 341.67 กิโลกรัมตอไร ตามลําดับ
                  รายได  5,690.58 และ 4,879.05 บาทตอไร ตามลําดับ ตนทุนผันแปร 3,840.87 และ 4,119.98 บาทตอไร

                  รายไดเหนือตนทุนผันแปร 1,849.71 และ 759.07 บาทตอไร และอัตราสวนของรายไดตอตนทุนผันแปร

                  1.48  และ 1.18 จึงสงผลใหระดับความเหมาะสมทางเศรษฐกิจของการใชประโยชนที่ดินเพื่อการปลูก

                  ขาวเจานาป (นาดํา) พันธุเล็บนกปตตานี อยูในระดับเล็กนอย (S3) ทั้ง 2 หนวยที่ดิน
                                ยางพารา สํารวจจํานวน 3  หนวยที่ดิน คือ หนวยที่ดินที่ 32B 34B  และ 53C พันธุที่

                  ปลูกเปนพันธุ RRIM 600  ซึ่งเกษตรกรสวนใหญในพื้นที่ลุมน้ําจะเก็บผลผลิตขายในรูปน้ํายางพารา

                  โดยจะคํานวณเปนน้ําหนักเนื้อยางแหง  ยางพาราเปนไมยืนตนที่มีอายุการผลิตเกินกวา 1 ป การ
                  วิเคราะหครั้งนี้กําหนดใหยางพารามีรอบอายุการผลิต 25 ป การพิจารณาผลตอบแทนการผลิต จึงใช

                  มูลคาปจจุบันของรายไดเหนือตนทุนผันแปรทั้งหมด (NPV)  อัตราสวนของผลไดตอตนทุนผันแปร

                  (B/C Ratio)  ตลอดจนนําตนทุนผันแปรและรายไดที่คํานวณเปนคาปจจุบันมาพิจารณารวมดวย
                  ผลการวิเคราะห พบวา การปลูกยางพารา ในหนวยที่ดินที่ 32B 34B  และ 53C ผลผลิตเฉลี่ยระหวาง

                  221.38 – 266.80 กิโลกรัมตอไร รายไดระหวาง 9,446.29 – 10,674.69 บาทตอไร ตนทุนผันแปรระหวาง

                  6,347.13 – 6,533.28 บาทตอไร รายไดเหนือตนทุนผันแปร 2,913.01 – 4,327.56 บาทตอไร และอัตราสวน

                  ของรายไดตอตนทุนผันแปรระหวาง 1.45 - 1.68 จึงสงผลใหระดับความเหมาะสมทางเศรษฐกิจของการใช
                  ประโยชนที่ดินเพื่อการปลูกยางพารา อยูในระดับปานกลาง (S2) ทั้ง 3 หนวยที่ดิน

                                ปาลมน้ํามัน  สํารวจจํานวน 1  หนวยที่ดิน คือ หนวยที่ดินที่ 34B  พันธุที่ปลูกเปน

                  พันธุลูกผสมเทเนอรา และสุราษฎรธานี - 2  ปาลมน้ํามันเปนไมยืนตนที่มีอายุการผลิตเกินกวา 1 ป

                  การวิเคราะหครั้งนี้กําหนดใหปาลมน้ํามันมีรอบอายุการผลิต 20 ป การพิจารณาผลตอบแทนการผลิต
                  ปาลมน้ํามัน จึงใชมูลคาปจจุบันของรายไดเหนือตนทุนผันแปรทั้งหมด (NPV) อัตราสวนของผลไดตอ

                  ตนทุนผันแปร (B/C Ratio)  ตลอดจนนําตนทุนผันแปรและรายไดที่คํานวณเปนคาปจจุบันมา

                  พิจารณารวมดวย ผลการวิเคราะหพบวาการปลูกปาลมน้ํามัน ในหนวยที่ดินที่ 34B  ผลผลิตเฉลี่ย
                  4,355.86  กิโลกรัมตอไร รายได 12,794.76 บาทตอไร  ตนทุนผันแปร 5,796.86  บาทตอไร รายไดเหนือ








                                                                        กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   116   117   118   119   120   121   122   123   124   125   126