Page 111 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำโกลก
P. 111

3-50





                        3.1.4  ประเภทการใชประโยชนที่ดิน

                             ประเภทการใชประโยชนที่ดิน หมายถึง ชนิดหรือระบบของการใชที่ดินที่กลาวถึง

                  ชนิดของพืช ลักษณะการดําเนินงานและสภาพการผลิตในการใชที่ดิน ทั้งทางดานกายภาพและ

                  สภาพเศรษฐกิจสังคม ซึ่งไดแก รูปแบบการผลิตการเขตกรรมการจัดการเงินทุนและขนาดของกิจการ
                  เปนตน โดยใชขอมูลเหลานี้มาวิเคราะหเพื่อคัดเลือกประเภทการใชประโยชนที่ดินที่เหมาะสมกับ

                  ทองถิ่นนั้น

                            จากการสํารวจภาคสนามในลุมน้ําสาขาแมน้ําโกลก พบวา เกษตรกรทําการเกษตรโดย
                  ใชน้ําฝนเปนหลัก บางสวนเปนเขตชลประทานที่เกษตรกรสามารถทําการเกษตรไดตลอดทั้งปรวมถึง

                  พื้นที่ลุมใกลแมน้ํา หลังชวงฤดูฝนจากการสํารวจวิเคราะหรวมกับขอมูลดินและขอมูลสภาพการใชที่ดิน

                  สามารถคัดเลือกประเภทการใชประโยชนที่ดินลุมน้ําสาขาแมน้ําโกลกในเขตน้ําฝน และเขตชลประทาน

                  มีรายละเอียดดังนี้ (ตารางที่ 3-14)
                             1)  ประเภทการใชประโยชนที่ดินในเขตเกษตรน้ําฝน สามารถคัดเลือกประเภทการใช

                  ประโยชนที่ดินได ดังนี้

                                1.1) ขาวนาป  เกษตรกรนิยมปลูกขาวพันธุเล็บนกปตตานี  พันธุเข็มทอง มีการปลูก
                  แบบนาดํา มีการเตรียมดินเพื่อทําแปลงกลาเปนระยะเวลา 30 วันในชวงเดือนกรกฎาคม หลังจากนั้น

                  ทําการไถดะ ไถแปร คราดเพื่อทําเทือก และทําการปกดําในเดือนสิงหาคม มีการจัดการโดยใสปุย 2 ครั้ง

                  ครั้งแรกรองพื้นที่ใชปุยเคมีสูตร 16-20-0 อัตรา 20 กิโลกรัม/ไร ครั้งที่ 2 ใสปุยกอนขาวออกรวงใช
                  ปุยเคมี สูตร 46-0-0 อัตรา 15-20 กิโลกรัม/ไร เก็บเกี่ยวชวงเดือนกุมภาพันธ ใชแรงงานคนเปนหลัก

                  ผลผลิตประมาณ 350-450 กิโลกรัม/ไร

                                1.2)  ปาลมน้ํามัน เกษตรกรนิยมปลูก  ปาลมน้ํามันสายพันธุ ลูกผสมและพันธุพื้นเมือง

                  โดยทําการเพาะกลา ใหตนกลาที่ใชปลูกมีอายุที่เหมาะสมคือ 10 -12 เดือน แลวนํามาปลูกลงแปลงที่
                  ทําการเตรียมดินเรียบรอยแลว ขุดหลุมปลูกใหมีขนาดขนาดของหลุม 45 x  45 x  35  เซนติเมตร

                  มีระยะ 9 เมตร วิธีการขุดหลุมดินชั้นบน และชั้นลางแยกกัน และตากหลุมไวประมาณ 10 วัน เริ่มปลูก

                  ชวงฤดูฝน เดือนพฤษภาคม – มิถุนายน การปลูกซอม ควรทําภายในระยะเวลา 1 เดือน หลังจากปลูก

                  การใส 3ปุยให ใสปุยหินฟอสเฟต (0-3-0)  อัตรา 250  กรัม/ตน รองกนหลุมตอนปลูก โดยใชดินชั้นบน
                  ผสมคลุกเคลากับปุยหินฟอสเฟต ใสรองกนหลุมแลวกลบหลุมใหเต็มดวยดินชั้นลาง เมื่อปาลมน้ํามันอายุ

                  ระหวาง 1-4 ป ใสปุยภายในวงกลม (รัศมี 1.5-2 เมตร) บริเวณที่กําจัดวัชพืชรอบโคนตน อายุตั้งแต

                  5 ปขึ้นไป ใสปุยหางจากโคนตน 50 เซนติเมตร จนถึงบริเวณปลายทางใบ 3  ในอัตรา 1-4 กิโลกรัม/ไร
                  ขึ้นอยูกับชวงอายุของปาลมน้ํามันผลผลิตเฉลี่ย 3,000 – 5,000 กิโลกรัม/ไร








                                                                        กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   106   107   108   109   110   111   112   113   114   115   116