Page 112 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำโกลก
P. 112

3-51





                                1.3) ยางพารา เกษตรกรสวนใหญนิยมปลูกยางพาราสายพันธุ RRIM 600 ปลูกในชวงตน

                  ฤดูฝนประมาณเดือนมิถุนายนถึงเดือนพฤษภาคม มีวิธีการปลูกแบบขุดหลุมปลูก หลุมมีขนาด

                  50 x 50 x 50 เซนติเมตร มีระยะระหวางตน 2.5 เมตร ระยะระหวางแถว 7-8 เมตร มีปริมาณ 80-91 ตน/ไร

                  วิธีการดูแลรักษามีการใสปุยดวยกัน 2 ครั้ง ครั้งที่ 1 ตนฤดูฝนประมาณพฤษภาคม – มิถุนายน ใสปุย
                  สูตร  16-11-14 ครั้งที่ 2  ปลายฤดูฝนประมาณเดือนตุลาคมใสปุยสูตร 16-11-14  มีอัตราการใชตนละ

                  ประมาณ 500-600 กรัม/ไร ยางพาราสามารถเปดกรีดได เมื่ออายุประมาณ 7 ป เปดหนายางชวงเดือนตุลาคม

                  เปนตนไป นิยมใชแรงงานคนเปนหลักในการเก็บเกี่ยว ผลผลิตเฉลี่ย 200-300 กิโลกรัม/ไร
                                1.4)  ไมผลผสม  เกษตรกรนิยมปลูกไมผลผสมในพื้นที่เดียวกันโดยสวนใหญนิยมปลูก

                  เงาะ ลองกอง ทุเรียน โดยขุดหลุมปลูกขนาดของหลุม กวาง-ยาว-ลึก ประมาณ 50-100 เซนติเมตร แลว

                  นําตนกลาลงปลูกในฤดูฝน ชวงเดือนพฤษภาคม – มิถุนายน แลวใสปุยสูตร 15-15-15 ในอัตรา 3 กิโลกรัม/ไร

                  เริ่มเก็บเกี่ยวผลผลิต ประมาณชวงเมษายนเปนตนไป ผลผลิตเฉลี่ย 800-1,000 กิโลกรัม/ไร
                              1.5)  มะพราว เกษตรนิยมปลูกมะพราวพันธุพื้นเมืองและพันธุชุมพรลูกผสม

                  โดยนิยมปลูกกันในชวงหนาฝนขุดหลุมปลูกขนาด 50 x 50 x 50 เซนติเมตร โดยขุดดินตรงกลางหลุม

                  ขนาดเทาผลมะพราว ใชปูนขาวหรือยากันราทาตรงรอยตัดวางหนอลงในหลุม ใหหนอตั้งตรงเอาหนอมะพราว
                  วางลงจัดรากใหแผตามธรรมชาติ  เอาดินกลบเหยียบดานขางใหแนน กลบดินใหเสมอผิวของ

                  ผลมะพราว ปกหลักกันลมโยกในระยะแรกๆ ควรทํารมบังแดดดวย การดูแลรักษา การใหน้ําในชวง

                  1-2 ปแรก การใหน้ําแกตนมะพราวเปนสิ่งจําเปนในฤดูแลง ควรรดน้ําอยางนอยอาทิตยละครั้ง และใชเศษหญา
                  คลุมโคนมะพราวเพื่อรักษาความชื้นใสปุย และกําจัดวัชพืชอยางสม่ําเสมอ เริ่มเก็บผลผลิตในชวง

                  เดือนสิงหาคมถึงกันยายน ผลมะพราวเริ่มแกเมื่ออายุประมาณ 11-12 เดือน เกษตรกรนิยมสอยมะพราว

                  ทุกๆ 45-60 วัน โดยนิยมใชไมไผลํายาวๆ ที่มีตะขอผูกติดปลายลํา  ใชตะขอเกี่ยวทะลายที่มีผลแกแลวดึง

                  กระตุกใหผลหลุดลงมา แตถามะพราวสูงมาก มักใชลิง ในการเก็บแทน ผลผลิตเฉลี่ย 500-800 ผล/ไร/ป
                             2)  ประเภทการใชประโยชนที่ดินในเขตเกษตรชลประทาน สามารถคัดเลือกประเภทการ

                  ใชประโยชนที่ดินไดดังนี้

                                2.1)  ขาวนาป  เกษตรกรนิยมปลูกขาวพันธุเล็บนกปตตานี พันธุเข็มทอง มีการปลูก

                  แบบนาดํา มีการเตรียมดินเพื่อทําแปลงกลาเปนระยะเวลา 30 วัน ในชวงเดือนกรกฎาคม หลังจากนั้นทําการ
                  ไถดะ ไถแปร คราดเพื่อทําเทือก และทําการปกดําในเดือนสิงหาคม มีการจัดการโดยใสปุย 2 ครั้ง

                  ครั้งแรกรองพื้นที่ใชปุยเคมีสูตร 16-20-0 อัตรา 20 กิโลกรัม/ไร ครั้งที่ 2 ใสปุยกอนขาวออกรวงใช

                  ปุยเคมี สูตร 46-0-0 อัตรา 15-20 กิโลกรัม/ไร เก็บเกี่ยวชวงเดือนกุมภาพันธ ใชแรงงานคนเปนหลัก
                  ผลผลิตประมาณ 350-450 กิโลกรัม/ไร








                  แผนการใชที่ดินลุมน้ําสาขาแมน้ําโกลก
   107   108   109   110   111   112   113   114   115   116   117