Page 60 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันออกตอนล่าง
P. 60

3-13





                  และควอตซ หรือหินดินดาน สีดินเปนสีน้ําตาล สีเหลืองหรือสีแดง ดินมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติต่ํา

                  ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงกรดจัด มีคาความเปนกรดเปนดางประมาณ 5.0-5.5 ปญหาสําคัญในการ

                  ใชประโยชนที่ดิน ไดแก เปนดินตื้น มีเศษหินปะปนอยูในเนื้อดินเปนปริมาณมาก และดินมีความ
                  อุดมสมบูรณต่ํา บริเวณที่มีความลาดชันสูงเกิดการชะลางพังทลายของหนาดิน ปจจุบันบริเวณดังกลาว

                  เปนปาดิบชื้น บางแหงใชปลูกยางพารา หรือปลอยทิ้งเปนปาละเมาะ แบงเปนหนวยที่ดินตางๆ คือ

                                    -  หนวยที่ดินที่ 51 สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ มีเนื้อที่ 253 ไร

                  หรือรอยละ 0.03 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา
                                    - หนวยที่ดินที่ 51C สภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาด มีเนื้อที่ 3,771 ไร หรือรอยละ

                  0.41 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                - หนวยที่ดินที่ 51D สภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนชัน มีเนื้อที่ 228 ไร หรือรอยละ 0.02
                  ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                (10)   หนวยที่ดินที่ประกอบดวยพื้นที่ภูเขาและเทือกเขาที่มีความลาดชันมากกวารอยละ 35

                  พื้นที่บริเวณนี้ยังไมมีการสํารวจและจําแนกดิน ควรอนุรักษไวเปนแหลงตนน้ําลําธาร ไดแก หนวยที่ดินที่ 62

                  (SC : พื้นที่ลาดชันเชิงซอน) มีเนื้อที่ 77,686 ไร หรือรอยละ 8.51 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                             3)  หนวยเบ็ดเตล็ด มีดังนี้

                            (1)   พื้นที่เพาะเลี้ยงสัตวน้ํา (AQ) มีเนื้อที่ 27,639 ไร หรือรอยละ 3.02 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา
                            (2)   ชายหาด (BEACH) มีเนื้อที่ 544 ไร หรือรอยละ 0.06 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                (3)   ที่ลุมชื้นแฉะ (BEACH) มีเนื้อที่ 9,151 ไร หรือรอยละ 1.00 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                            (4)   ที่ดินดัดแปลง (ML) มีเนื้อที่ 461 ไร หรือรอยละ 0.05 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา
                                (5)   บอขุด  (P) มีเนื้อที่ 1,017 ไร หรือรอยละ 0.12 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                            (6)   พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสราง (U) มีเนื้อที่ 89,045 ไร หรือรอยละ 9.76 ของพื้นที่

                  ลุมน้ําสาขา
                                (7)   พื้นที่น้ํา (W) มีเนื้อที่ 19,229 ไร หรือรอยละ 2.11 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา






















                  แผนการใชที่ดินลุมน้ําสาขาภาคใตฝงตะวันออกตอนลาง
   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65