Page 132 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันออกตอนล่าง
P. 132

3-60






                                    6) ศักยภาพการใชเครื่องจักร (w)

                                    7) ความเสียหายจากการกัดกรอน (e)

                                  การจําแนกชั้นความเหมาะสมของที่ดินไดจําแนกชั้นความเหมาะสมออกเปน 4 ชั้น
                  (Class) และกําหนดชั้นความเหมาะสมในแตละชั้นความเหมาะสมออกเปนชั้นยอย (Subclass) ตามขอจํากัด

                  ของคุณภาพที่ดินที่มีอิทธิพลของพืชหลักตามประเภทการใชที่ดิน ทั้งนี้ ใชวิธีการประเมินจากกลุมของ

                  คุณลักษณะที่ดินที่มีขอจํากัดรุนแรงที่สุด ทั้งนี้ สามารถจัดชั้นความเหมาะสมของที่ดินได 4 ชั้น คือ

                                   S1 : ชั้นที่มีความเหมาะสมสูง
                                 S2 : ชั้นที่มีความเหมาะสมปานกลาง

                                 S3 : ชั้นที่มีความเหมาะสมเล็กนอย

                                 N : ชั้นที่ไมมีความเหมาะสม
                                   ผลจากการประเมินความเหมาะสมของที่ดินของลุมน้ําสาขาภาคใตตะวันออก

                  ตอนลางสามารถจําแนกการจัดชั้นความเหมาะสมของที่ดินในระดับชั้นยอยโดยแยกเปนเขตเกษตรที่

                  อาศัยน้ําฝน (ตารางที่ 3-13) และเขตพื้นที่เกษตรน้ําฝนมีการใชน้ําจากแหลงน้ําตามธรรมชาติและ
                  แหลงน้ําใตดินในการเพาะปลูกพืช (ตารางที่ 3-14) มีรายละเอียดดังนี้

                             1)  เขตพื้นที่เกษตรน้ําฝน  จากการสํารวจภาคสนามในเขตพื้นที่ลุมน้ําสาขาภาคใต

                  ตะวันออกตอนลางไดดําเนินการประเมินความเหมาะสมของที่ดินตามประเภทการใชประโยชนที่ดิน

                  และไดจัดทําการประเมินความเหมาะสมของที่ดินตามพืชทางเลือกที่สามารถสงเสริมใหเพาะปลูก
                  ในลุมน้ําสาขาภาคใตตะวันออกตอนลางมีรายละเอียดดังนี้

                                      (1)  ความเหมาะสมของที่ดินตามประเภทการใชประโยชนที่ดิน ในลุมน้ําสาขา

                  ภาคใตตะวันออกตอนลางประกอบดวย ยางพารา ปาลมน้ํามัน มะพราว ขาวนาป มีความเหมาะสมของ
                  ที่ดินตามคุณลักษณะของที่ดินไดดังนี้

                                       ยางพารา

                                        - ชั้นดินมีความเหมาะสมปานกลาง (S2) ไดแก หนวยที่ดิน คือ 26 26C  32

                  34 34B 34C 39 39B 39C 42 43 50B 50C 50D  58M โดยมีขอจํากัด ความชุมชื้นที่เปนประโยชนตอพืช
                  ความจุในการดูดยึดธาตุอาหาร ความเปนประโยชนของธาตุอาหาร ความเปนประโยชนของออกซิเจน

                  ตอรากพืช สภาวะการหยั่งลึกของราก ศักยภาพการใชเครื่องจักร

                  ความเสียหายจากการกัดกรอน

                                        - ชั้นดินมีความเหมาะสมเล็กนอย (S3) ไดแก หนวยที่ดิน 2M 6M 10M 14M
                  17M 23M 23M/43 32gm 34gm 39gm 45C 50E 51 51C 51D 57  59M โดยมีขอจํากัด คือ สภาวะการ








                                                                        กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   127   128   129   130   131   132   133   134   135   136   137