Page 128 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันออกตอนล่าง
P. 128

3-56






                                1.3) ยางพารา เกษตรกรสวนใหญนิยมปลูกยางพาราสายพันธุ RRIM 600  ปลูกในชวง

                  ตนฤดูฝนประมาณเดือนมิถุนายนถึงเดือนพฤษภาคม มีวิธีการปลูกแบบขุดหลุมปลูก หลุมมีขนาด

                  50 x 50 x 50 เซนติเมตร มีระยะระหวางตน 2.5 เมตร ระยะระหวางแถว 7-8 เมตร มีปริมาณ 80-91 ตน/ไร

                  วิธีการดูแลรักษามีการใสปุยดวยกัน 2 ครั้ง ครั้งที่ 1 ตนฤดูฝนประมาณพฤษภาคม – มิถุนายน ใสปุยสูตร
                  16-11-14 ครั้งที่ 2  ปลายฤดูฝนประมาณเดือนตุลาคมใสปุยสูตร 16-11-14  มีอัตราการใชตนละประมาณ

                  500-600 กรัม/ไร  ยางพาราสามารถเปดกรีดได เมื่ออายุประมาณ 7  ป เปดหนายางชวงเดือนตุลาคม

                  เปนตนไป นิยมใชแรงงานคนเปนหลักในการเก็บเกี่ยว ผลผลิตเฉลี่ย 200-300 กิโลกรัม/ไร
                                1.4) ไมผลผสม เกษตรกรนิยมปลูกไมผลผสมในพื้นที่เดียวกันโดยสวนใหญนิยม

                  ปลูก เงาะ ลองกอง ทุเรียน โดยขุดหลุมปลูกขนาดของหลุม กวาง-ยาว-ลึก ประมาณ 50-100  เซนติเมตร

                  แลวนําตนกลาลงปลูกในฤดูฝน ชวงเดือนพฤษภาคม – มิถุนายน แลวใสปุยสูตร 15-15-15  ในอัตรา

                  3 กิโลกรัม/ไร เริ่มเก็บเกี่ยวผลผลิต ประมาณชวงเมษายนเปนตนไป ผลผลิตเฉลี่ย 800-1,000 กิโลกรัม/ไร
                              1.5)  มะพราว เกษตรนิยมปลูกมะพราวพันธุพื้นเมืองและพันธุชุมพรลูกผสม โดยนิยม

                  ปลูกกันในชวงหนาฝนขุดหลุมปลูกขนาด 50x50x50  เซนติเมตร  โดยขุดดินตรงกลางหลุมขนาดเทาผล

                  มะพราว ใชปูนขาวหรือยากันราทาตรงรอยตัดวางหนอลงในหลุม ใหหนอตั้งตรงเอาหนอมะพราววางลง
                  จัดรากใหแผตามธรรมชาติ เอาดินกลบเหยียบดานขางใหแนนกลบดินใหเสมอผิวของผลมะพราว ปกหลัก

                  กันลมโยกในระยะแรก ๆ ควรทํารมบังแดดดวย การดูแลรักษา การใหน้ําในชวง 1-2 ปแรก การใหน้ําแก

                  ตนมะพราวเปนสิ่งจําเปนในฤดูแลง ควรรดน้ําอยางนอยอาทิตยละครั้ง และใชเศษหญาคลุมโคนมะพราว
                  เพื่อรักษาความชื้น  ใสปุยและกําจัดวัชพืช   อยางสม่ําเสมอ เริ่มเก็บผลผลิตในชวงเดือนสิงหาคมถึง

                  กันยายน ผลมะพราวเริ่มแกเมื่ออายุประมาณ 11-12 เดือน เกษตรกรนิยมสอยมะพราวทุกๆ 45-60 วัน โดย

                  นิยมใชไมไผลํายาวๆ ที่มีตะขอผูกติดปลายลําใชตะขอเกี่ยวทะลายที่มีผลแกแลวดึงกระตุกใหผลหลุดลง

                  มา แตถามะพราวสูงมาก มักใชลิงในการเก็บแทน ผลผลิตเฉลี่ย 500-800 ผล/ไร/ป
                              1.6)  ทุเรียน  เกษตรกรนิยมปลูกทุเรียนพันธุพื้นเมืองและพันธุทุเรียนปา เริ่มปลูกตั้งแต

                  เดือนมีนาคมหรือเมษายน โดยปรับพื้นที่ใหราบไมใหมีแองที่น้ําทวมขังได และถาเปนไปไดควรปรับเปน

                  เนินลูกฟูกเพื่อปลูกทุเรียนบนสันเนิน ระยะหางระหวางตนและระหวางแถวดานละ 9 เมตร ปลูกไดไรละ

                  20  ตนหรือ 8-10  เมตร ปลูกทุเรียนไดประมาณ 16-25  ตน/ไร การดูแลรักษา    ควรใหน้ําอยางสม่ําเสมอ
                  เพื่อการเจริญเติบโตที่ดีและตอเนื่อง ตัดแตงกิ่ง กําจัดวัชพืช โดยในปแรกหลังปลูกควรใสปุยและทําโคน

                  4 ครั้ง และในปตอๆ ไปในระยะที่ตนทุเรียนยังไมใหผลผลิตควรใสปุย และทําโคนอยางนอยปละ 2  ครั้ง

                  ในชวงตนฤดูฝนและหลังฤดูฝน การเก็บเกี่ยวทุเรียนควรเลือกเก็บเกี่ยวเฉพาะผลทุเรียนแกแลวเทานั้น โดย
                  สังเกตจากลักษณะของผลและนับอายุ ซึ่งการนับอายุทุเรียนนั้นจะนับจํานวนจากวันหลังจากดอกบาน

                  จนถึงวันที่ผลแก เชน พันธุทุเรียนบานใชเวลา 90-120  วัน พันธุหมอนทองใชเวลา 140-150  วันเปนตน





                                                                        กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   123   124   125   126   127   128   129   130   131   132   133