Page 131 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันออกตอนล่าง
P. 131

3-59





                  3.2   การประเมินคุณภาพที่ดิน

                             การประเมินคุณภาพที่ดินดานกายภาพเปนการวิเคราะหศักยภาพของหนวยที่ดินตอการ

                  ใชประโยชนที่ดินประเภทตางๆ ในระดับการจัดการที่แตกตางกัน วิธีการประเมินคุณภาพที่ดินมีหลายวิธี

                  กลุมวางแผนทรัพยากรน้ําเพื่อการพัฒนาที่ดินไดเลือกใชวิธีการประเมินคุณภาพที่ดินตามหลักการของ

                  FAO Framework ซึ่งมีจํานวน 2 รูปแบบ คือ
                             1) การประเมินทางดานคุณภาพ เปนการประเมินเชิงกายภาพวาที่ดินนั้นๆ มีความเหมาะสม

                  มากหรือนอยเพียงใดตอการใชประโยชนที่ดินประเภทตางๆ

                             2) การประเมินทางดานปริมาณหรือเศรษฐกิจ ซึ่งจะใหคาตอบแทนในรูปผลผลิตที่ไดรับ
                  จํานวนเงินในการลงทุน และจํานวนเงินจากผลตอบแทนที่ไดรับ

                        3.2.1   การประเมินคุณภาพที่ดินดานกายภาพ

                            การศึกษาไดดําเนินการประเมินคุณภาพที่ดินทางกายภาพเพียงดานเดียว โดยศึกษา

                  การประเมินคุณภาพดินรวมกับประเภทการใชประโยชนที่ดินที่ไดกําหนดเปนตัวแทนการ
                  เกษตรกรรมหลักในลุมน้ําสาขา ดังแสดงใน รวมทั้งยังไดประเมินคุณภาพที่ดินจากพืชที่ควรแนะนํา

                  ในลุมน้ําสาขาภาคใตตะวันออกตอนลาง การวิเคราะหไดคํานึงถึงปจจัยที่มีผลตอการเจริญเติบโตของ

                  พืชในแตละดานของดินที่แตกตางกัน โดยอาศัยคุณลักษณะดินแตกตางกันไปตามวัตถุตนกําเนิดของดิน
                  ซึ่งคุณลักษณะที่ดินที่ใชในการแสดงคาเพื่อวัดระดับการเจริญเติบโตแตกตางกัน

                            การเลือกคุณลักษณะที่ดินเพื่อใชเปนตัวแทนคุณภาพที่ดินในการประเมินความเหมาะสมที่ดิน

                  ตามระบบ FAO  กําหนดในระบบไว 25 ชนิด สําหรับประเทศไทยใชคุณลักษณะดินเพื่อใชเปน

                  ตัวแทนคุณภาพที่ดินในการประเมินความเหมาะสมที่ดิน 13 ชนิด โดยตัวแทนคุณภาพที่ดินแตละตัว
                  มีขอจํากัดในการเลือกใชจากปจจัยดาน 1) มีผลตอพืชหรือประเภทการใชที่ดินนั้นๆ 2) พบคาวิกฤตใน

                  พื้นที่ปลูกนั้นๆ 3) การรวบรวมขอมูลตองสามารถปฏิบัติไดจริงจากเงื่อนไขดังกลาว จําเปนตอง

                  จัดลําดับความสําคัญคุณภาพที่ดินกอนที่จะนํามาประเมิน ตามเงื่อนไขการคัดเลือกคุณภาพที่ดิน
                            เมื่อทําการจัดลําดับความสําคัญแลวพบวา เงื่อนไขหลักขึ้นอยูกับการรวบรวมขอมูล

                  คุณลักษณะที่ดิน ดังนั้นเมื่อนํามาใชในการประเมินความเหมาะสมทางกายภาพของพืชตางๆ ในเขตลุมน้ํา

                  สาขา จึงมีปจจัยหลัก 7 ปจจัย ที่นํามาวิเคราะห ดังนี้
                                   1)  ความชุมชื้นที่เปนประโยชนตอพืช (m)

                                   2)  ความเปนประโยชนของออกซิเจนตอรากพืช (o)

                                   3)  ความเปนประโยชนของธาตุอาหาร (s)
                                 4)  ความจุในการดูดยึดธาตุอาหาร (n)

                                   5)  สภาวะการหยั่งลึกของราก (r)




                  แผนการใชที่ดินลุมน้ําสาขาภาคใตฝงตะวันออกตอนลาง
   126   127   128   129   130   131   132   133   134   135   136