Page 133 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันออกตอนล่าง
P. 133

3-61





                  หยั่งลึกของราก ความเปนประโยชนของออกซิเจนตอรากพืช ความเสียหายจากการกัดกรอน ศักยภาพ


                  การใชเครื่องจักร
                                                             ปาลมน้ํามัน

                                        - ชั้นดินมีความเหมาะสมมาก (S1) ไดแก หนวยที่ดิน 26 26C 32 34
                                        - ชั้นดินมีความเหมาะสมปานกลาง (S2) ไดแก หนวยที่ดิน  2M 6M  10M

                  14M 17M 23M 32gm 34B 34C 34gm 39 39B 39C 39gm 57 58M 59M โดยมีขอจํากัด คือ ความจุในการ

                  ดูดยึดธาตุอาหาร ความเปนประโยชนของออกซิเจนตอรากพืช ความเปนประโยชนของธาตุอาหาร
                                        - ชั้นดินมีความเหมาะสมเล็กนอย (S3) ไดแก หนวยที่ดิน 42 43 50B 50C

                  50D 50E โดยมีขอจํากัด คือ ความเปนประโยชนของออกซิเจนตอรากพืชสภาวะการหยั่งลึกของราก

                  ศักยภาพการใชเครื่องจักร ความเสียหายจากการกัดกรอน
                                                         มะพราว

                                        - ชั้นดินมีความเหมาะสมมาก (S1) ไดแก หนวยที่ดิน 26 32 34

                                        - ชั้นดินมีความเหมาะสมปานกลาง (S2) ไดแก หนวยที่ดิน  26C  34B 34C

                  39 39B 39C 43 57M 58M โดยมีขอจํากัด คือ ความเปนประโยชนของออกซิเจนตอรากพืช ความเปน

                  ประโยชนของธาตุอาหาร ความจุในการดูดยึดธาตุอาหาร ความเสียหายจากการกัดกรอน
                                                         - ชั้นดินมีความเหมาะสมเล็กนอย (S3) ไดแก หนวยที่ดิน2M 6M 10M 14M

                  17M 23M 32gm 34gm 39gm 42 50B 50C 50D 57 59M โดยมีขอจํากัด คือ ความเสียหายจากการกัด

                  กรอน สภาวะการหยั่งลึกของราก ความเปนประโยชนของออกซิเจนตอรากพืช
                                                            ขาวนาป

                                        - ชั้นดินมีความเหมาะสมมาก (S1) ไดแก หนวยที่ดิน 2  10 13 26b  32b

                  32gmb 59
                                        - ชั้นดินมีความเหมาะสมปานกลาง (S2) ไดแก หนวยที่ดิน 6 14 17 23 34b

                  34Bb 34gmb 39Bb 39gmb 42b 43b 50Bb โดยมีขอจํากัด คือ สภาวะการหยั่งลึกของราก ความเปนประโยชน

                  ของธาตุอาหาร ความจุในการดูดยึดธาตุอาหาร

                                                           2)  เขตพื้นที่เกษตรชลประทาน จากการสํารวจภาคสนามในเขตพื้นที่ลุมน้ํา
                  สาขาภาคใตตะวันออกตอนลางมีการใชประโยชนที่ดินหลายประเภทโดยสวนใหญทําการปลูกพืช

                  หลักและพืชตามในพื้นที่ที่มีน้ําชลประทาน น้ําบาดาล น้ําจากลําหวย และหนอง เชน ยางพารา ปาลมน้ํามัน

                  มะพราว และขาวนาป ซึ่งพืชแตละชนิดมีชั้นดินที่มีความเหมาะสมแตกตางกัน ดังรายละเอียดตอไปนี้







                  แผนการใชที่ดินลุมน้ําสาขาภาคใตฝงตะวันออกตอนลาง
   128   129   130   131   132   133   134   135   136   137   138