Page 127 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันออกตอนล่าง
P. 127

3-55





                        3.1.4  ประเภทการใชประโยชนที่ดิน

                             ประเภทการใชประโยชนที่ดิน หมายถึง ชนิดหรือระบบของการใชที่ดินที่กลาวถึง

                  ชนิดของพืช ลักษณะการดําเนินงานและสภาพการผลิตในการใชที่ดิน ทั้งทางดานกายภาพและ

                  สภาพเศรษฐกิจสังคม ซึ่งไดแก รูปแบบการผลิตการเขตกรรมการจัดการเงินทุนและขนาดของกิจการ
                  เปนตน โดยใชขอมูลเหลานี้มาวิเคราะหเพื่อคัดเลือกประเภทการใชประโยชนที่ดินที่เหมาะสมกับ

                  ทองถิ่นนั้น

                            จากการสํารวจภาคสนามในลุมน้ําสาขาภาคใตฝงตะวันออกตอนลาง พบวาเกษตรกรทํา
                  การเกษตร โดยใชน้ําฝนเปนหลัก บางสวนเปนเขตชลประทานที่เกษตรกรสามารถทําการเกษตรได

                  ตลอดทั้งปรวมถึงพื้นที่ลุมใกล หลังชวงฤดูฝนจากการสํารวจวิเคราะหรวมกับขอมูลดินและขอมูล

                  สภาพการใชที่ดิน สามารถคัดเลือกประเภทการใชประโยชนที่ดินลุมน้ําสาขาภาคใตฝงตะวันออก

                  ตอนลาง ในเขตน้ําฝนและเขตชลประทาน มีรายละเอียดดังนี้ (ตารางที่ 3-12)
                            1)  ประเภทการใชประโยชนที่ดินในเขตเกษตรน้ําฝน สามารถคัดเลือกประเภทการใช

                  ประโยชนที่ดินได ดังนี้

                                1.1) ขาวนาป เกษตรกรนิยมปลูกขาวพันธุเล็บนกปตตานี เข็มทอง มีการปลูกแบบนา
                  ดํา มีการเตรียมดินเพื่อทําแปลงกลาเปนระยะเวลา 30 วันในชวงเดือนกรกฎาคม หลังจากนั้นทําการไถดะ

                  ไถแปร คราดเพื่อทําเทือก และทําการปกดําในเดือนสิงหาคม มีการจัดการโดยใสปุย 2 ครั้ง ครั้งแรก

                  รองพื้นที่ใชปุยเคมีสูตร 16-20-0 อัตรา 20 กิโลกรัม/ไร ครั้งที่ 2 ใสปุยกอนขาวออกรวงใชปุยเคมี
                  สูตร 46-0-0 อัตรา 15-20 กิโลกรัม/ไร เก็บเกี่ยวชวงเดือนกุมภาพันธ ใชแรงงานคนเปนหลัก ผลผลิตประมาณ

                  350-450 กิโลกรัม/ไร

                                 1.2) ปาลมน้ํามัน เกษตรกรนิยมปลูก  ปาลมน้ํามันสายพันธุ ลูกผสม และพันธุพื้นเมือง

                  โดยทําการเพาะกลา ใหตนกลาที่ใชปลูกมีอายุที่เหมาะสมคือ 10 -12 เดือน แลวนํามาปลูกลงแปลงที่ทํา
                  การเตรียมดินเรียบรอยแลว ขุดหลุมปลูกใหมีขนาดขนาดของหลุม 45x45x35  เซนติเมตร มีระยะ 9  เมตร

                  วิธีการขุดหลุมดินชั้นบน และชั้นลางแยกกัน และตากหลุมไวประมาณ 10 วัน เริ่มปลูกชวงฤดูฝน

                  เดือนพฤษภาคม – มิถุนายน การปลูกซอม ควรทําภายในระยะเวลา 1 เดือน หลังจากปลูก การใสปุยใหใส

                  ปุยหินฟอสเฟต (0-3-0) อัตรา 250 กรัม/ตน รองกนหลุมตอนปลูก โดยใชดินชั้นบน ผสมคลุกเคลา
                  กับปุยหินฟอสเฟต ใสรองกนหลุมแลวกลบหลุมใหเต็มดวยดินชั้นลาง เมื่อปาลมน้ํามันอายุระหวาง

                  1-4 ป ใสปุยภายในวงกลม (รัศมี 1.5-2 เมตร) บริเวณที่กําจัดวัชพืชรอบโคนตน อายุตั้งแต 5 ปขึ้นไป

                  ใสปุยหางจากโคนตน 50 เซนติเมตร จนถึงบริเวณปลายทางใบ ในอัตรา  1-4 กิโลกรัม/ไร ขึ้นอยู
                  กับชวงอายุของปาลมน้ํามันผลผลิตเฉลี่ย  3,000 – 5,000 กิโลกรัม/ไร







                  แผนการใชที่ดินลุมน้ําสาขาภาคใตฝงตะวันออกตอนลาง
   122   123   124   125   126   127   128   129   130   131   132