Page 107 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันออกตอนล่าง
P. 107

3-41





                        P:  เนื้อดินบนมีลักษณะเปนดินเหนียว หรือดินรวนเหนียว

                        (S) DC:  เนื้อดินบนมีลักษณะเปนดินรวนเหนียวปนทราย ดินรวนเหนียว หรือดินเหนียว มีกอนกรวดปะปน
                           O :   เนื้อดินบนมีลักษณะเปนดินรวนเหนียวปนทราย ดินรวนเหนียว หรือดินเหนียว

                        SD (C):  เนื้อดินบนมีลักษณะเปนดินรวนปนทราย รวนเหนียวปนทราย หรือดินเหนียว มีกอนกรวดปะปน
                        TrJgr:  เนื้อดินบนมีลักษณะเปนดินรวนเหนียวปนทราย ดินรวนเหนียว หรือดินเหนียว
                           Qt :   เนื้อดินบนมีลักษณะเปนดินรวนปนทราย หรือดินรวนเหนียวปนทราย มีกอนกรวดปะปน

                           Qa :   เนื้อดินบนมีลักษณะเปนดินรวนปนทรายแปง ดินรวนปนทราย ดินรวน ดินรวนเหนียวปนทรายแปง

                  ที่มา:  กรมพัฒนาที่ดิน (2545)

                  ตารางที่  3-6 คาปจจัยการจัดการพืชและพืชพรรณที่ปกคลุมดิน และปจจัยการอนุรักษดินและน้ํา

                  ตามสภาพการใชที่ดินลุมน้ําสาขาภาคใตฝงตะวันออกตอนลาง

                            สภาพการใชที่ดิน              C factor           P factor           CP
                  นาขาว                                   0.280              0.100            0.028

                  พืชไร                                   0.322              1.000            0.322
                  ไมยืนตน                                0.160              1.000            0.160
                  ไมผล                                    0.300              1.000            0.300

                  พืชสวน                                   0.600              1.000            0.600
                  ไรหมุนเวียน                             0.250              1.000            0.250

                  ทุงหญา                                 0.100              1.000            0.100
                  เกษตรผสมผสาน                             0.225              1.000            0.225
                  ปาไมผลัดใบ                             0.001              1.000            0.001

                  ปาผลัดใบ                                0.048              1.000            0.048
                  สวนปา                                   0.088              1.000            0.088

                  วนเกษตร                                  0.088              1.000            0.088
                  ทุงหญาธรรมชาติ                         0.015              1.000            0.015

                  ที่มา  :  กรมพัฒนาที่ดิน (2545)

                             ผลการวิเคราะหคาอัตราการชะลางพังทลายของดินลุมน้ําสาขาภาคใตฝงตะวันออกตอนลาง

                                ระดับอัตราการชะลางพังทลายของดินในพื้นที่ลุมน้ําสาขาภาคใตฝงตะวันออกตอนลาง

                  (ตารางที่ 3-7 และรูปที่ 3-3) สามารถแบงได 5 ระดับ ดังนี้

                                1)  ระดับการสูญเสียดินนอย มีเนื้อที่ 722,594 ไร หรือรอยละ 79.18 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา
                  มีการสูญเสียดิน 0-2 ตันตอไรตอป








                  แผนการใชที่ดินลุมน้ําสาขาภาคใตฝงตะวันออกตอนลาง
   102   103   104   105   106   107   108   109   110   111   112