Page 104 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันออกตอนล่าง
P. 104

3-38





                             ความชัน (Slope gradient)

                          จากเอกสารของ กรมพัฒนาที่ดิน (2545) อธิบายเรื่องความชัน ไวดังนี้

                             ความชันของพื้นที่สามารถตรวจวัดไดในสนามดวยเครื่องมือวัดความลาดเอียง เชน เครื่อง Abney

                  ขอมูลแผนที่เสนชั้นความสูง ที่มีเสนความสูงหางชั้นละ 2 ฟุต สามารถใชคํานวณคาความชันไดหากกระทํา
                  อยางรอบคอบ การศึกษาความสัมพันธระหวางความชันกับการสูญเสียดินในแปลงทดลอง ชวยใหพัฒนา

                  สมการคณิตศาสตรเพื่อคํานวณคาปจจัยความชัน หรือ S-factor  สําหรับใชในสมการการสูญเสียดินสากล

                  ได คาปจจัยความชัน คือ ตัวเลขแสดงสัดสวนของการสูญเสียดินตอหนวยความชัน เปนความสัมพันธ
                  ระหวางความชันตอการชะลางพังทลายแบบแผน (sheet erosion) และการชะลางพังทลายแบบรองริ้ว

                  (rill erosion)

                          สมการคํานวณคา S-factor

                          ใชสมการ Wischmeier และ Smith (1978) สําหรับพื้นที่ลาดชัน 0-9 เปอรเซ็นต คือ
                                                       2
                             S  =  (0.43 + 0.30 s + 0.043 s ) / 6.613 หรือเขียนไดอีกอยางหนึ่ง คือ
                                                          2
                          S  =  0.065 + 0.045 s + 0.0065 s
                             ใชสมการแนะนําโดย Meijerink (Huizing, 1992) สําหรับพื้นที่ลาดชันมากกวา 9 เปอรเซ็นต คือ
                             S  =  sin (slope degree) x cos (slope degree) หรือเขียนไดอีกอยางหนึ่ง คือ
                                     0.75
                                                     0.75
                          S  =  6.4 (sin{atan (s/100)} ) (cos{atan (s/100)})
                             เมื่อ  S   คือ   คาปจจัยความชัน
                             s  คือ เปอรเซ็นตความชัน

                             การคํานวณคาเปอรเซ็นตความชัน (s)

                          จากเอกสารของ กรมพัฒนาที่ดิน (2545) อธิบายวิธีการคํานวณเปอรเซ็นตความชัน หรือ

                  คา s เพื่อใชในสมการคํานวณคาปจจัย S-factor ขางตน มีการนําขอมูลจากแหลงตางๆ มาใช และ
                  ศึกษาเปรียบเทียบคาความชันที่คํานวณได เพื่อพิจารณาเลือกแหลงขอมูลที่มีความถูกตองเหมาะสม

                  สําหรับการจัดทําแผนที่การสูญเสียดินมากที่สุด แหลงขอมูลที่นํามาใชมีดังนี้

                                1)  แผนที่สภาพภูมิประเทศ กรมแผนที่ทหาร มาตราสวน 1:50,000 มีเสนชั้นความสูง
                  หางกันชั้นละ 100 และ 20 เมตรตามลําดับ

                                2)  แผนที่หนวยที่ดิน ซึ่งใชขอมูลกลุมชุดดิน มาตราสวน 1: 25,000 ป พ.ศ. 2553 ของ

                  สํานักสํารวจและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน มาเปนขอมูลพื้นฐาน

                                ในการหาคาอัตราการชะลางพังทลายของดินและการทําแผนที่ระดับการสูญเสียดิน
                  ใชวิธีซอนทับแผนที่หนวยที่ดิน แผนที่สภาพการใชที่ดิน และเสนระดับปริมาณน้ําฝนรายปเฉลี่ย ซึ่ง

                  จะทราบวาคาปจจัยการสูญเสียดินในแตละพื้นที่ เพื่อคํานวณหาคาอัตราการชะลางพังทลายของดิน





                                                                        กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   99   100   101   102   103   104   105   106   107   108   109