Page 105 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันออกตอนล่าง
P. 105

3-39





                  และทําแผนที่ระดับการสูญเสีย ซึ่งในการหาคาอัตราการชะลางพังทลายของดินและการทําแผนที่

                  ใชโปรแกรมคอมพิวเตอรดวยระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร Arc GIS ชวยในการจัดทําโดยมีแผนที่

                  ภูมิประเทศ มาตราสวน 1:25,000 เปนฐานในการจัดทําแผนที่ตางๆ เชน แผนที่สภาพการใชที่ดิน
                  หนวยที่ดิน และระดับการสูญเสียดิน


                                สําหรับคาปจจัยสมรรถนะการชะลางพังทลายของดิน (K) คาปจจัยเกี่ยวกับภูมิประเทศ

                  ไดแก ความยาว (L) และระดับความลาดชัน (S) คาปจจัยเกี่ยวกับฝน (R) คาปจจัยการจัดการพืชและพืชพรรณ
                  ที่ปกคลุมดิน (C) และปจจัยการอนุรักษดินและน้ํา (P) ตามสภาพการใชที่ดินลุมน้ําสาขาภาคใตฝง

                  ตะวันออกตอนลางใชการแทนคาปจจัยตางๆ ในโปรแกรม Arc GISโดยอางอิงคาปจจัยตางๆ จากเอกสารของ

                  กรมพัฒนาที่ดิน (2545) ในการวิเคราะหหาคาอัตราการชะลางพังทลายของดินโดยใชสมการการสูญเสียดิน

                  สากล ซึ่งรายละเอียดตางๆ มีดังนี้
                                1)  คาปจจัยเกี่ยวกับฝน (R) การประเมินคาปจจัยการชะลางพังทลายของฝน ใชเสนชั้นน้ําฝน

                  รายปเฉลี่ย (มิลลิเมตร) ของกรมอุตุนิยมวิทยามาคํานวณหาคา R จากสูตร

                                             R  =   0.4996X – 12.1415

                                โดยที่    X    คือ ปริมาณน้ําฝนเฉลี่ยรายป (มิลลิเมตร/ป)

                                  จากสูตรคา R ที่ไดจะมีหนวยเปนตันตอเฮกแตรตอป ทําการแปลงเปนหนวยตันตอไร
                  ตอป โดยนําคาตัวเลข 6.25 ไปหาร

                                2)  คาปจจัยความคงทนของดินตอการชะลางพังทลาย (K)  ใชชนิดของเนื้อดินบน

                  และหนวยธรณีวิทยา (กรมพัฒนาที่ดิน, 2545) รายละเอียดตางๆ แสดงในตารางที่ 3-5
                            3)  คาปจจัยเกี่ยวกับภูมิประเทศ ไดแก ความยาว (L)  และระดับความลาดชัน (S)

                  ใชคาเฉลี่ยสวนใหญของหนวยที่ดิน รายละเอียดตางๆ แสดงในตารางที่ 3-4 (กรมพัฒนาที่ดิน, 2545)

                                4)  คาปจจัยเกี่ยวกับพืช (C) ใชคาตัวเลขจากหนังสือแนวทางการประเมินอัตราชะลาง

                  พังทลายของดินในพื้นที่ลุมน้ําประเทศไทย (กรมพัฒนาที่ดิน, 2545) รายละเอียดตางๆ แสดงในตารางที่
                  3-6

                                5)  ปจจัยเกี่ยวกับการอนุรักษดินและน้ํา (P) ไมมีมาตรการอนุรักษใหมีคาเทากับ 1 ยกเวน

                  พื้นที่ทํานาขาวใหมีคาเทากับ 0.100 รายละเอียดตางๆ แสดงในตารางที่ 3-6 (กรมพัฒนาที่ดิน, 2545)
















                  แผนการใชที่ดินลุมน้ําสาขาภาคใตฝงตะวันออกตอนลาง
   100   101   102   103   104   105   106   107   108   109   110