Page 11 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองกระทือ ลำดับที่ พช.7 (2556) ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำป่าสักส่วนที่ 3 (รหัส 1205) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำป่าสัก (รหัส 12) พื้นที่ดำเนินการบ้านเขารวก หมู่ที่ 8 ตำบลกันจุ และบ้านวังไลย์ หมู่ที่ 1 ตำบลสระแก้ว อำเภอบึงสามพัน จังหวัดเพชรบูรณ์
P. 11

2





                  2.  วัตถุประสงค์
                         2.1  เพื่อศึกษาและวิเคราะห์ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่ลุ่มน้ าสาขาแม่น้ าป่าสักส่วนที่ 3

                  (รหัส 1205) ส าหรับก าหนดเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ า
                         2.2  เพื่อศึกษาและวิเคราะห์ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ า ส าหรับก าหนดพื้นที่

                  ด าเนินการ ด้านการพัฒนาที่ดิน

                         2.3   เพื่อศึกษาลักษณะและสมบัติดิน สภาพการใช้ที่ดิน ประเมินความเหมาะสมของดินส าหรับการ
                  ปลูกพืชเศรษฐกิจและงานทางด้านปฐพีกลศาสตร์ในพื้นที่ด าเนินการ

                         2.4   เพื่อจัดท าแผนที่ดิน แผนที่สภาพการใช้ที่ดินและรายงานการส ารวจดินส าหรับใช้เป็นข้อมูลพื้นฐาน

                  ในการวางแผนการใช้ที่ดิน
                  3.  การตรวจเอกสารและอธิบายนามศัพท์

                        3.1 ลุ่มน  า (Watershed)
                             ลุ่มน  า (Watershed) หมายถึง พื้นที่บนผิวโลกที่รับน้ าฝนที่ตกลงมาแล้วไหลลงมารวมกันใน

                  แม่น้ า ล าธาร หรือแอ่งรับน้ าในพื้นที่แล้วรวมกันไหลออกมาที่จุดใดจุดหนึ่งของล าธารที่ก าหนดขึ้น เพื่อเป็น
                  จุดตรวจวัด โดยมีแนวขอบเขตพื้นที่จากเส้นสันปันน้ า (กรมทรัพยากรน้ า, 2551) อีกนัยหนึ่งหมายถึง พื้นที่

                  ใดพื้นที่หนึ่งที่เน้นเกี่ยวกับการจัดการน้ า มีขนาดไม่แน่นอนแล้วแต่วัตถุประสงค์และความต้องการในการ

                  จัดการ (นิวัติ, 2547) หรือหมายถึงพื้นที่หน่วยหนึ่งซึ่งครอบคลุมล าน้ าธรรมชาติเพื่อท าหน้าที่รวบรวมน้ าให้
                  ไหลลงสู่แม่น้ าหนึ่ง พื้นที่ลุ่มน้ าแต่ละแห่งจะมีขนาดไม่แน่นอน ขึ้นอยู่กับสภาพภูมิศาสตร์และวัตถุประสงค์

                  ในการจัดแบ่งพื้นที่เพื่อการบริหารจัดการ (เกษม, 2551) และหมายถึงหน่วยพื้นที่  ซึ่งทางกายภาพมีรูปร่างปิด

                  มีขอบโดยรอบ ระบบทางน้ าโดยธรรมชาติจะไหลจากขอบเข้าสู่ตอนกลางซึ่งมีล าน้ าหลักรองรับ มีทิศ
                  ทางการไหลออกสู่พื้นที่รับน้ าที่มีขนาดใหญ่ เช่น มหาสมุทร ทะเล ทะเลสาบ หรือแม่น้ าสายหลัก เป็นต้น

                  โดยขนาดของลุ่มน้ าจะขึ้นกับความต้องการแต่ละบุคคลและประเภทการศึกษา ซึ่งภายในล าน้ าหนึ่งๆ จะ
                  ประกอบด้วยลุ่มน้ าสาขามากกว่าหนึ่งเสมอ เพราะลุ่มน้ าเป็นระบบหรือระบบสิ่งแวดล้อม (ค ารณ, 2552)

                             ต้นน  า (Head  Watershed) หมายถึง  พื้นที่ตอนบนของลุ่มน้ า มักเป็นพื้นที่สูง หรือบริเวณ
                  เทือกเขา ภูเขาต่างๆ ที่มีผลท าให้ฝนที่ตกในบริเวณดังกล่าวไหลลงสู่พื้นที่ตอนล่างอย่างรวดเร็วในฤดูฝน

                  (กรมทรัพยากรน้ า, 2551)  เป็นลุ่มน้ าที่อยู่บนที่สูงบริเวณที่เป็นต้นก าเนิดของห้วยธารสายแรกๆ ส่วนใหญ่

                  จะเป็นพื้นที่สูงชัน ปกคลุมไปด้วยป่าไม้และมีฝนตกชุก มีคุณสมบัติเหมาะที่จะรองรับน้ าฝน สามารถดูดซับ
                  และกักเก็บน้ าเป็นปริมาณมากๆ ไปไว้เป็นน้ าใต้ดิน เปรียบเสมือนอ่างเก็บน้ าธรรมชาติที่ค่อยๆ ปลดปล่อย

                  ให้น้ าไหลซึม หล่อเลี้ยงล าธารให้มีน้ าไหลสม่ าเสมอตลอดปี (นิวัติ, 2547) หรืออีกนัยหนึ่ง ต้นน้ าล าธาร

                  หมายถึง พื้นที่ตอนบนของลุ่มน้ าซึ่งเป็นพื้นที่ที่มีความลาดชันไปจนถึงสันปันน้ า ประกอบไปด้วยลุ่มน้ าสาขา
                  และลุ่มน้ าขนาดเล็ก เป็นพื้นที่ต้นน้ าล าธารที่รองรับน้ าฝนและปลดปล่อยน้ าท่าไหลรวมสู่แม่น้ า

                  (ค ารณ, 2552)
                             น  าท่า (Runoff  or  Streamflow) หมายถึง น้ าที่ไหลในล าน้ าในลักษณะการไหลสม่ าเสมอ

                  ปริมาณน้ าที่ไหลในล าน้ าหรือล าธารขึ้นอยู่กับขนาดของลุ่มน้ า (เกษม, 2551) และหมายถึง  ปริมาณน้ าใน
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16