Page 95 - การวิเคราะห์ทรัพยากรธรรมชาติและการกำหนดบริเวณการใช้ที่ดินตามศักยภาพพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาคลองจันดี (รหัส2202)
P. 95

69




                        8.2.3   ความตองการน้ําเพื่อการอุตสาหกรรม

                  5            ใชเกณฑการประเมินจากรายงานการจัดทําแผนรวมการบริหารจัดการทรัพยากรน้ํา

                  ในพื้นที่ลุมคลองจันดี ซึ่งประเมินความตองการน้ําเพื่ออุตสาหกรรมที่ไมใชน้ําในกระบวนการผลิต
                  ไดแก อุตสาหกรรมเกษตร (โรงสีขาว) อุตสาหกรรมแปรรูปไม อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุงหม


                  อัตราการใชน้ําในการทํางาน คือ 50 ลิตรตอคนตอวัน

                  5ตารางที่ 13 อัตราการใชน้ําของโรงงานอุตสาหกรรมแยกตามประเภทกิจการโรงงาน



                                                                               ปริมาณความตองการน้ํา
                              รายละเอียดประเภทอุตสาหกรรมหลัก
                                                                                    (ลบ.ม./วัน)

                           อุตสาหกรรมอาหาร เครื่องดื่ม                                  12

                           อุตสาหกรรมถลุง หรือหลอโลหะ                                  5
                           ผลิตภัณฑไม เครื่องเรือน                                    3

                           อุตสาหกรรมบริการ หรืออุตสาหกรรมอื่นๆ                         7

                           อุตสาหกรรมเคมีภัณฑ                                          8

                  5ที่มา :  สถาบันสารสนเทศการใชทรัพยากรน้ําเพื่อการเกษตร (2553)



                    8.3   สถานภาพทรัพยากรดิน
                     พื้นที่เพาะปลูกในประเทศไทยประสบปญหาทั้งดานกายภาพ และดานความอุดมสมบูรณของ   ดิน

                  ซึ่งปญหาเหลานี้จะมากหรือนอยขึ้นอยูกับลักษณะของดิน การใชประโยชนที่ดินรวมทั้งการ จัดการ

                  ของเกษตรกร โดยเฉพาะในพื้นที่ที่มีการใชประโยชนทางการเกษตรอยางตอเนื่องมาเปน

                  ระยะเวลานาน โดยขาดการจัดการที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ เปนเหตุใหดินเสื่อมโทรมลง ความอุดมสมบูรณ
                  และปริมาณอินทรียวัตถุในดินลดลง สงผลใหปริมาณผลผลิตลดลง ซึ่งจะกระทบกับรายได

                  ของเกษตรกรและตนทุนสําหรับการเพาะปลูกในฤดูกาลถัดไป ขอจํากัดของดินบางอยางทําให

                  ดินไมเหมาะสมที่จะนํามาใชในทางการเกษตร เชน พื้นที่ที่เปนดินตื้นจะมีผลตอการหยั่งลึกของราก

                  ในดินกอใหเกิดปญหาและอุปสรรคตอการเจริญเติบโตของพืช  ดังนั้นการศึกษาถึงสถานภาพของ
                  ทรัพยากร ที่ดินในพื้นที่ลุมน้ําจะชวยใหเขาใจถึงสภาพปญหาและนําไปสูการวางแผนการใช

                  ประโยชนที่ดิน อยางถูกตองเหมาะสม ตรงกับความตองการของเกษตรกรในพื้นที่ลุมน้ํา รวมทั้ง

                  สามารถปองกันและแกไขปญหาตางๆ ที่จะเกิดขึ้นตามมาไดอยางมีประสิทธิภาพ
                     จากการศึกษาลักษณะและสมบัติของดินในพื้นที่ลุมน้ําสาขา  คลองจันดี (รหัส 2202) สามารถ

                  สรุปปญหาหรือขอจํากัดของทรัพยากรที่ดินไดดังนี้ (ตารางที่ 14 และภาพที่ 13)






                                                                   สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   90   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100