Page 91 - การวิเคราะห์ทรัพยากรธรรมชาติและการกำหนดบริเวณการใช้ที่ดินตามศักยภาพพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาคลองจันดี (รหัส2202)
P. 91

65




                  ประเมินคุณภาพของดินนั้นจะจัดชั้นตามชั้นมาตรฐานของแตละปจจัยพิจารณา คุณภาพที่ดินที่ได

                  นํามาใชในการพิจารณาในครั้งนี้ประกอบดวย

                                  (1)  ความเปนประโยชนของออกซิเจนตอรากพืช (o) ปจจัยพิจารณา ไดแก สภาพการ
                  ระบายน้ํา

                                  (2)  ความเปนประโยชนของธาตุอาหาร (s) ปจจัยพิจารณา ไดแก ความอุดมสมบูรณ

                  ของดิน  โดยจะพิจารณาประเมินความอุดมสมบูรณของดินจากธาตุอาหารหลัก คือ ธาตุไนโตรเจน

                  ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม
                                  (3)  ความจุในการดูดยึดธาตุอาหาร (n) ปจจัยพิจารณา ไดแก ความจุแลกเปลี่ยนแคต

                  ไอออน (Cation  Exchange  Capacity  :  C.E.C.) และอัตรารอยละความอิ่มตัวเบส ( Base  Saturation

                  Percentage : %BS) ซึ่งทั้งสองปจจัยนี้จะใชขอมูลดินลางในการพิจารณา
                                  (4)  สภาวะการหยั่งลึกของราก (r) ปจจัยพิจารณา ไดแก ความลึกของดิน  และชั้นการ

                  หยั่งลึกของราก

                                  (5)  สภาวะการเขตกรรม (k) ปจจัยพิจารณา ไดแก ชั้นความยากงายในการเขตกรรม

                  โดยจะพิจารณาจากเนื้อดินเปนหลัก
                                  (6)  การมีเกลือมากเกินไป (x) ปจจัยพิจารณา ไดแก คาการนําไฟฟา

                                  (7)  สารพิษ (z) ปจจัยพิจารณา ไดแก ปฏิกิริยาดิน (pH)

                                  (8)  ศักยภาพการใชเครื่องจักร (w) ปจจัยพิจารณา ไดแก ความลาดชัน

                            8)    จัดจําแนกความเหมาะสมของที่ดินสําหรับการปลูกพืชเศรษฐกิจ โดยใชหลักการ

                  ของ FAO  framework  ค.ศ. 1983  ซึ่งพืชเศรษฐกิจที่สําคัญในประเทศมีหลายชนิด เชน ขาว ยางพารา
                  ปาลมน้ํามัน ในพื้นที่จังหวัดนครศรีธรรมราช


                               9)  ขอมูลเฉพาะดาน ทําการวิเคราะหในดานตางๆ ดังนี้

                                  (1)  การวิเคราะหระดับความรุนแรงของปญหาที่ดินจากการใชประโยชนที่ดิน เพื่อ
                  แนะนําแนวทางการอนุรักษดินและน้ํา

                                  ( 2) การวิเคราะหหาคาศักยภาพการคายระเหยน้ํา ( ETo) เพื่อประเมินชวงระยะเวลา

                  ในการเพาะปลูกพืชที่เหมาะสมกับสภาพภูมิอากาศ
                                  ( 3) การวิเคราะหความตองการน้ําของพืช

                                  (4)  การวิเคราะหนโยบายที่เกี่ยวของทั้งทางดานการอนุรักษ การพัฒนา

                  ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม

                         7.2.4  จัดทํารายงานและแผนที่







                                                                   สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96