Page 90 - การวิเคราะห์ทรัพยากรธรรมชาติและการกำหนดบริเวณการใช้ที่ดินตามศักยภาพพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาคลองจันดี (รหัส2202)
P. 90

64




                            2)    การวิเคราะหขอมูลภูมิอากาศเพื่อหาปริมาณการระเหยและการคายน้ําอางอิง ปริมาณ

                  น้ําฝนที่เปนประโยชน และชวงเวลาที่เหมาะสมในการปลูกพืช โดยใชขอมูลปริมาณน้ําฝนเฉลี่ย และ

                  คาศักยภาพการคายระเหยน้ําของพืชรายเดือนเฉลี่ย  (Evapotranspiration  :  ETo) ซึ่งคํานวณโดยใช
                  โปรแกรม  CROPWAT  for  Windows  Version  4.3 และพิจารณาจากระยะเวลาชวงที่เสนน้ําฝน

                  อยูเหนือเสน 0.5  ศักยภาพการคายระเหยน้ํา ถือเปนชวงระยะเวลาที่เหมาะสมในการปลูกพืช


                               3)  จัดทําสถานภาพทรัพยากรดินที่พบปญหาและขอจํากัดตอการใชประโยชนในพื้นที่
                  ลุมน้ําสาขาคลองจันดี (รหัส 2202) และแนวทางการแกไข โดยใชขอมูลกลุมชุดดินมาวิเคราะห ซึ่งจัด

                  ตามลักษณะและสมบัติของดินในแตละกลุมชุดดิน แบงออกเปนกลุม ดังนี้

                                  (1)  ดินคอนขางเปนทราย

                                  (2)  ดินตื้นปนกรวด

                               4) การ ประเมินการชะลางพังทลายของดินในลุมน้ําสาขาคลองจันดี (รหัส  2202) โดย

                  ใชวิธีประเมินตามสมการการสูญเสียดินสากล ( Universal Soil Loss Equation: USLE) คาปจจัยที่ใช
                  ในการสมการไดจากขอมูลกลุมชุดดินมาวิเคราะหรวมกับขอมูลสภาพการใชที่ดินและเสนชั้นน้ําฝน

                  เมื่อประเมินคาปจจัยทั้ง 6 ตามคูมือการประเมินการสูญเสียดินในประเทศไทยแลว  ทําการจัดชั้นความ

                  รุนแรงของการสูญเสียดิน (กรมพัฒนาที่ดิน, 2545) โดยจําแนกระดับการสูญเสียดินเปน 5 ระดับ ดังนี้
                  นอย (0-2 ตัน/ไร/ป)  ปานกลาง (2-5 ตัน/ไร/ป)  รุนแรง (5-15 ตัน/ไร/ป)  รุนแรงมาก (15-20 ตัน/ไร/ป)

                  และรุนแรงมากที่สุด (มากกวา 20 ตัน/ไร/ป)

                               5) การ วิเคราะหขอมูลกลุมชุดดิน ขอมูลการใชประโยชนที่ดิน และขอมูลความรุนแรง
                  ของการสูญเสียดิน ในพื้นที่ลุมน้ําสาขา คลองจันดี (รหัส 2202) มาวิเคราะหรวมกันโดยการซอนทับ

                  ขอมูลดวยโปรแกรมระบบสารสนเทศภูมิศาสตร เพื่อจัดทําหนวยที่ดินสําหรับ    ประกอบ การ

                  วางแผนการใชที่ดิน    ซึ่งไดใชสัญลักษณแทนขอมูลที่พบ   เชน ขอมูลชลประทานใชสัญลักษณ  I

                  การยกรองเพื่อปลูกไมยืนตนหรือไมผลในพื้นที่ลุมใชสัญลักษณ M การใชที่ดินปลูกขาวในพื้นที่ดอน
                  ใชสัญลักษณ b  การมีความรุนแรงของการสูญเสียดินปานกลาง ใชสัญลักษณ (E2)  และการมีความ

                  รุนแรงของการสูญเสียดินมากใชสัญลักษณ (E3)

                               6)  ตรวจสอบความถูกตองของขอมูลในภาคสนาม โดยเปรียบเทียบจากขอมูลที่ไดมีการ
                  วิเคราะหและทําการปรับขอมูลใหตรงกับในสภาพพื้นที่จริง

                               7) การ ประเมินคุณภาพที่ดิน ซึ่งหนวยที่ดินแตละหนวยนั้นจะมีลักษณะเฉพาะและ

                  จะถูกนําไปใชประกอบการวิเคราะหความเหมาะสมของที่ดินสําหรับการปลูกพืชเศรษฐกิจ ซึ่งในการ










                                                                   สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95