Page 93 - การวิเคราะห์ทรัพยากรธรรมชาติและการกำหนดบริเวณการใช้ที่ดินตามศักยภาพพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาคลองจันดี (รหัส2202)
P. 93

67




                  จากอิทธิพลภายนอกมากนัก การคํานวณหาคาความตองการน้ําของพืชอางอิงนี้เปนการนําเอาขอมูล

                  ของสภาพภูมิอากาศ ณ ชวงเวลา และสถานที่ที่สนใจ มีการวิเคราะหและปรับปรุงขอมูล และแบงชวง

                  ใหตรงกับชวงการเจริญเติบโตของพืช ซึ่งสามารถคํานวณไดหลายวิธี เชน  Modifide Penman Renman
                  Monteith E pan เปนตน (กรมชลประทาน, 2554)

                                เมื่อทราบคาความตองการน้ําของพืชอางอิง ( ETo) แลว ยังตองทราบคาสัมประสิทธิ์

                  การใชน้ําของพืช (Crop Coefficient, Kc) ของพืชที่สนใจ ซึ่งคาสัมประสิทธิ์การใชน้ําของพืช ( Kc) คือ

                  คาคงที่ของแตละพืชที่ไดจากความสัมพันธระหวางปริมาณการใชน้ําของพืช (Evapotranspiration, ET)
                  ที่ทําการทดลองและจากการตรวจวัดไดกับผลการคํานวณหาคาความตองการน้ําของพืชอางอิง ( ETo)

                  โดยจะอยูในรูปสมการ ดังนี้

                                          ET   =  Kc (ETo)
                                 กําหนดให  ET   =  ปริมาณการใชน้ําของพืช

                                               Kc   =  สัมประสิทธิ์การใชน้ําของพืช

                                               ETo  =  ปริมาณการใชน้ําของพืชอางอิง

                          สําหรับการศึกษาในครั้งนี้ ไดการคํานวณของ  Penmann  Monteith และใชคาสัมประสิทธิ์
                  การใชน้ําของพืชจากขอมูลของสํานักอุทกวิทยาและบริหารน้ํา กรมชลประทาน (2554)  โดยไดแสดง

                  รายละเอียดความตองการน้ําของพืชสําคัญในพื้นที่ลุมน้ําสาขาคลองจันดี (รหัส 2202) ไวในตารางที่ 12











































                                                                   สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98