Page 92 - การวิเคราะห์ทรัพยากรธรรมชาติและการกำหนดบริเวณการใช้ที่ดินตามศักยภาพพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาคลองจันดี (รหัส2202)
P. 92

66




                  8. ผลการศึกษา


                    8.1  ลักษณะทางกายภาพของพื้นที่ลุมน้ํา
                          ลุมน้ําสาขาคลองจันดีมีเนื้อที่ลุมน้ํา 639.85 ตารางกิโลเมตร มีลักษณะคลาย  รูปสี่เหลี่ยม

                  เนื่องจากมีคาอัตราสวนระหวางความกวางตอความยาวเฉลี่ยของลุมน้ํา (From Factor : FF) เทากับ 0.89

                  และมีคาสัมประสิทธิ์ความหนาแนน (Compactness coefficient : Kc) เทากับ 1.57 โดยจุดสูงสุดอยูทาง
                  ทิศเหนือของพื้นที่ลุมน้ําสาขาในพื้นที่ตําบลชางกลาง อําเภอชางกลาง จังหวัดนครศรีธรรมราช มีความสูง

                  ประมาณ 1,418 เมตรจากระดับทะเลปานกลาง ซึ่งเปนพื้นที่ตนน้ํา และกอใหเกิดลําน้ําสาขาที่สําคัญ

                  หลายสาย


                    8.2  การประเมินความตองการใชน้ําในกิจกรรมตางๆ
                        8.2.1   ความตองการน้ําเพื่อการเกษตร

                              จากการรวบรวมและทบทวนผลการศึกษาจากรายงานการศึกษาโครงการ              จัดทํา
                  แผนรวมการบริหารจัดการทรัพยากรน้ําในพื้นที่ลุมน้ําสาขาคลองจันดีของกรมทรัพยากรน้ํา ป 2549 ได

                  ประเมินความตองการน้ําเพื่อการเกษตร โดยอาศัยขอมูลอันไดแกระบบการปลูกพืช แผนการ

                  เพาะปลูก พื้นที่ชลประทาน พื้นที่การเพาะปลูกในฤดูฝน-ฤดูแลง ในแตละลุมน้ําสาขา โดยใช

                  แบบจําลองฝนใชการและแบบจําลองน้ําเพื่อชลประทาน ซึ่งสามารถประเมินคาความตองการใชน้ํา
                  ของพื้นที่เกษตรที่มีกิจกรรมการปลูกพืชประเภทตางๆ โดยประเมินความตองการน้ําในลุมน้ําสาขา

                  คลองจันดีเพื่อการเกษตรประมาณ 34.16 ลานลูกบาศกเมตรตอป

                                ความตองการน้ําของพืช คือ ปริมาณน้ําที่พืชตองการใชในการเจริญเติบโต รวมถึง
                  ปริมาณน้ําที่สูญเสียไปจากแปลงปลูก โดยกระบวนการคายน้ําของพืช (Transpiration) และการระเหย

                  (Evaporation) จากผิวดินโดยตรง มีหนวยความตองการน้ําของพืชเปนความลึกตอหนวยเวลาหรือ

                  ปริมาณของน้ําตอหนวยเวลา เนื่องจากในแตละทองที่มีภูมิอากาศที่แตกตางกัน ทําใหปริมาณการ
                  ใชน้ําของพืชแตละชนิดแตกตางกันตามสภาพภูมิอากาศของทองที่นั้นๆ นอกจากนี้แลวยังขึ้นอยูกับ

                  ชวงระยะเวลาการปลูก สภาพภูมิประเทศ และคุณสมบัติของดินที่ใชในการปลูกพืชอีกดวย

                                การศึกษาเพื่อคํานวณหาความตองการน้ําของพืชนั้น สามารถทําไดหลายวิธี ซึ่งวิธีที่ใช
                  อยางกวางขวาง คือ การหาปริมาณการใชน้ําของพืชโดยอาศัยขอมูลภูมิอากาศ หรือเรียกอีกอยางหนึ่งวา

                  การหาคาความตองการน้ําของพืชอางอิง (Reference Crop Evapotranspiration, ETo) (ธีระพล, 2549)

                                ความตองการน้ําของพืชอางอิง ( ETo) หมายถึง ปริมาณน้ําที่สูญเสียไปจากพื้นที่

                  เพาะปลูกที่มีพืชปกคลุมอยูอยางทั่วถึง โดยที่ดินจะตองมีความชื้นอยูอยางเพียงพอกับความตองการ
                  ของพืชตลอดเวลา และมีบริเวณกวางใหญพอที่จะไมทําใหการระเหยและการคายน้ําของพืชไดรับผล








                                                                   สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97