Page 9 - การวิเคราะห์ทรัพยากรธรรมชาติและการกำหนดบริเวณการใช้ที่ดินตามศักยภาพพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาคลองจันดี (รหัส2202)
P. 9

3




                    3.3   การสํารวจดิน คือ การสํารวจหาขอมูลทางวิทยาศาสตรของดินตลอดจนสภาพแวดลอม โดย

                  วิธีการทางสนามและหองปฏิบัติการ แลวนํามาบันทึกในรูปแบบแผนที่และรายงาน ดังนั้นการสํารวจดิน

                  ที่สมบูรณจะตองประกอบดวยแผนที่ และรายงานการสํารวจดิน ซึ่งจะมีรายละเอียดเกี่ยวกับลักษณะ

                  และสมบัติของดิน ขอบเขตและการแพรกระจายของดิน ลักษณะของพื้นที่ และการแปลความหมาย
                  ขอมูลดินและสภาพแวดลอม เพื่อใชประโยชนตามวัตถุประสงคตางๆ ไดแก การเกษตรกรรม งาน

                  วิศวกรรม ชลประทาน ปาไม และสิ่งแวดลอม เปนตน (ภูษิต, 2549)


                    3.4   หนวยแผนที่ดิน  หมายถึง ชนิดหรือกลุมของดินที่เขียนขอบเขตแสดงไวในแผนที่ดินนั้นๆ
                  หนวยแผนที่ดินจะมีชื่อ ซึ่งอาจจะเปนชื่อทางการจําแนกชนิดของดินตามระบบใดระบบหนึ่ง หรือ

                  อาจจะเปนชื่อที่ใชเฉพาะทางการสํารวจที่แสดงใหเห็นภาพพจนของสภาพธรรมชาติเชิงภูมิศาสตรของ

                  บริเวณนั้นๆ ที่มีความหมายเกี่ยวของกับดินพอที่จะนํามาแปลความหมายเพื่อใชประโยชนได (เอิบ, 2548)
                  ในหนวยแผนที่ดินหนึ่งๆ จะประกอบดวยชุดดินหนึ่งชนิดหรือมากกวา ซึ่งถามีลักษณะเดนของดิน

                  เพียงชนิดเดียวเรียกวา หนวยดินเดี่ยว ( soil  consociation) หรือมีสมบัติดินที่เดนหลายชนิดพอๆ กัน

                  เรียกวา หนวยดินสัมพันธ (soil  association) หนวยดินเชิงซอน (soil  complex) หรือหนวยดินศักยเสมอ
                  (undifferentiated group) (สวนมาตรฐานการสํารวจจําแนกดินและที่ดิน, 2551)


                    3.5   กลุมชุดดิน  เปนหนวยของแผนที่ดินที่กรมพัฒนาที่ดินพัฒนาขึ้นมา โดยการรวมชุดดิน

                  ที่มีลักษณะ สมบัติและศักยภาพในการเพาะปลูก รวมถึงการจัดการดินที่คลายคลึงกันมาไวเปน
                  กลุมเดียวกัน  เพื่อประโยชนในการใหคําแนะนํา การตรวจสอบลักษณะดิน   การใชที่ดินและการจัด

                  การดินที่เหมาะสม ไดจัดจําแนกเปน   62  กลุมชุดดินดวยกัน   โดยแบงตามสภาพที่พบออกเปน

                  กลุมใหญๆ ได 2 กลุม ไดแก (สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน, 2551)
                        3.5.1  กลุมชุดดินในพื้นที่ลุม พบในบริเวณที่ลุม การระบายน้ําของดินเลวมาก เลว หรือ

                  คอนขางเลว มักมีน้ําแชขังในฤดูฝน  ไมเหมาะสําหรับเพาะปลูกพืชไร ไมผลและไมยืนตน ประกอบดวย

                  กลุมชุดดินดังตอไปนี้

                                  1)  กลุมชุดดินที่เปนดินเหนียว ไดแก กลุมชุดดินที่ 1 3 4 5 6 และ 7
                               2)  กลุมชุดดินที่มีการยกรอง ไดแก กลุมชุดดินที่ 8

                                 3)  กลุมชุดดินที่เปนดินเปรี้ยวจัด ไดแก กลุมชุดดินที่ 2 9 10 11 และ 14

                               4)  กลุมชุดดินที่เปนดินเลนชายทะเล ไดแก กลุมชุดดินที่ 12 และ 13
                               5)  กลุมชุดดินที่เปนดินทรายแปงที่เกิดจากตะกอนลําน้ํา ไดแก กลุมชุดดินที่ 15 และ 16

                               6)  กลุมชุดดินที่เปนดินรวนละเอียด ไดแก กลุมชุดดินที่ 17 และ 18

                              7)  กลุมชุดดินที่เปนดินรวนหยาบ ไดแก กลุมชุดดินที่ 19 21 22 และ 59







                                                                   สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14