Page 11 - การวิเคราะห์ทรัพยากรธรรมชาติและการกำหนดบริเวณการใช้ที่ดินตามศักยภาพพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาคลองจันดี (รหัส2202)
P. 11

5




                    3.6   หนวยที่ดิน  เปน การ จัดรวม หนวย แผนที่ดินที่ไดจากการศึกษาคุณลักษณะของดิน

                  ใหครอบคลุมในดาน การจัดการ เพื่อจัดเปนหนวยพื้นที่ที่มีสมบัติเฉพาะของดินนั้นๆ และหนวยที่ดิน

                  ดังกลาวนี้จะถูกนํามาใชในการวางแผนการใชที่ดินตอไป (สํานักนโยบายและแผนการใชที่ดิน, 2553)

                    3.7   คุณภาพที่ดิน (Land  Quality  :  LQ) คือ สมบัติของดินที่มีอิทธิพลตอการเจริญเติบโตและ

                  ผลผลิตของพืช อาจประกอบไปดวยลักษณะที่ดินตัวเดียวหรือหลายตัวก็ได คุณภาพที่ดิน
                  มีทั้งหมด 25 ชนิด ไดแก ความเขมของแสงอาทิตย (u) อุณหภูมิ (t) ความชุมชื้นที่เปนประโยชนตอพืช

                  (m) ความเปนประโยชนของออกซิเจนตอรากพืช ( o) ความเปนประโยชนของธาตุอาหาร ( s) ความจุ

                  ในการดูดยึดธาตุอาหาร ( n) สภาวะการหยั่งลึกของราก ( r) สภาวะที่มีผลตอการงอกของเมล็ด ( g)
                  ความชื้นในอากาศที่มีผลตอการเจริญเติบโต ( h) สภาวะการสุกแก ( i) ความเสียหายจากน้ําทวม ( f)

                  ความเสียหายจากภูมิอากาศ (c) การมีเกลือมากเกินไป (x) สารพิษ (z) โรคและศัตรูพืช (p) สภาวะการ

                  เขตกรรม (k) ศักยภาพการใชเครื่องจักร (w) สภาวะสําหรับการเตรียมที่ดิน (v) สภาวะสําหรับการกักเก็บ
                  และแปรรูป (q) สภาวะที่มีผลตอเวลาใหผลผลิต ( y) การเขาถึงพื้นที่ (a) ขนาดของหนวยศักยภาพการ

                  จัดการ (b) ที่ตั้ง (l) ความเสียหายจากการกัดกรอน (e) และความเสียหายจากการแตกทําลาย ( d) แตใน
                  ความเปนจริงอาจนํามาใชเพียงไมกี่ชนิดขึ้นอยูกับความพรอมของขอมูล ความแตกตางของภูมิภาค

                  และระดับความรุนแรงของลักษณะดินที่มีผลตอผลผลิต รวมทั้งชนิดของพืชและความตองการใช

                  ประโยชนที่ดิน (บัณฑิต และคํารณ, 2542)

                    3.8   การประเมินคุณภาพที่ดิน (Land Evaluation) เปนการพิจารณาศักยภาพของทรัพยากรที่ดิน

                  ตอการใชประโยชนที่ดินประเภทตางๆ ในระดับการจัดการที่แตกตางกัน ซึ่งในปจจุบันไดนําเอา
                  วิธีการประเมินคุณภาพที่ดินของ  FAO  Framework  ป 1983 เขามาใช เนื่องจากสามารถใชไดกับ

                  ทุกระดับมาตราสวนของการสํารวจและสามารถตอบวัตถุประสงคไดเที่ยงตรงในทุกระดับของการ
                  สํารวจ (บัณฑิต และคํารณ, 2542)


                    3.9   การประเมินคุณภาพที่ดินทางดานคุณภาพ ( Qualitative Land Evaluation) เปนการประเมิน

                  เชิงกายภาพวาที่ดินนั้น  มีความเหมาะสมมากหรือนอยเพียงใดตอการใชประโยชนที่ดินดานตางๆ ซึ่ง
                  คุณภาพของที่ดินที่นํามาประเมินสําหรับประเทศไทยนั้น คุณภาพที่ดินที่สมควรนํามาประเมินคุณภาพ

                  ที่ดินประกอบดวย 13 ชนิด ไดแก (บัณฑิต และคํารณ, 2542)
                         3.9.1  ความเขมของแสงอาทิตย (u : Radiation Regime) คุณลักษณะของที่ดินที่เปนตัวแทน

                  ไดแก คาความยาวของชวงแสง เพราะมีผลโดยตรงตอการออกดอกของพืช พืชแตละชนิดมีความ

                  ตองการความยาวของชวงแสงที่มีอิทธิพลตอการออกดอกแตกตางกันไป พืชบางชนิดตองการชวงแสงสั้น
                  ถึงจะออกดอก บางชนิดตองการชวงแสงยาว แตบางชนิดแสงไมมีอิทธิพลตอการออกดอก คาความยาว

                  ของชวงแสงจะแตกตางกันออกไปตามจุดที่ตั้งบนเสนรุงในแตละชวงเดือน






                                                                   สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16