Page 8 - การวิเคราะห์ทรัพยากรธรรมชาติและการกำหนดบริเวณการใช้ที่ดินตามศักยภาพพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาคลองจันดี (รหัส2202)
P. 8

2





                  2. วัตถุประสงค


                   2.1  ศึกษาวิเคราะหสถานภาพดานทรัพยากรธรรมชาติ ลักษณะและสมบัติของดิน        เพื่อจัดทํา
                  หนวยที่ดินสําหรับใชเปนขอมูลพื้นฐานในการวางแผนการใชที่ดิน

                   2.2  กําหนดบริเวณการใชที่ดินตามศักยภาพของทรัพยากรธรรมชาติ รวมทั้งเสนอมาตรการดาน การ

                  บริหารจัดการทรัพยากรที่ดิน


                  3. อธิบายนามศัพท

                    3.1   ลุมน้ํา หมายถึง หนวยของพื้นที่หนึ่งที่เกี่ยวของกับการจัดการน้ําโดยเฉพาะ มีขนาดตามความ

                  ตองการของบุคคลและประเภทของการศึกษา คณะกรรมการอุทกวิทยาแหงชาติ ไดแบงพื้นที่ประเทศไทย
                  ออกเปนลุมน้ําสําคัญ 25 ลุมน้ําหลัก และแบงออกเปน 254 ลุมน้ําสาขา (สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ํา

                  เพื่อการเกษตร , 2553) การรักษาพื้นที่ลุมน้ําไมใหเสื่อมโทรมตองมีการจัดการอยางถูกตองและ

                  เหมาะสม โดยเปาหมายหลักในการจัดการลุมน้ํา คือ การผสมผสานหลักการทางวิชาการและการ
                  มีสวนรวมของชุมชนในการที่จะใหพื้นที่ลุมน้ํามีทรัพยากรไวใชอยางยั่งยืน มีปริมาณน้ําที่เพียงพอ

                  ตอการใช มีระยะเวลาการไหล ที่เหมาะสมและสม่ําเสมอ มีคุณภาพน้ําที่ดีเหมาะสมตอการอุปโภค

                  และบริโภค การควบคุมการพังทลายของดิน การลดความเสียหายจากอุทกภัย รวมทั้งการใชทรัพยากร

                  ในลุมน้ําอยางถูกตองตามหลักอนุรักษ (เกษม, 2553) การคํานวณหารูปรางของลุมน้ํามี 2 วิธี ดังนี้
                          - ฟอรมแฟคเตอร (From Factor : FF) คือ อัตราสวนระหวางความกวางตอความยาวเฉลี่ยของ

                  ลุมน้ํา ถาคา FF เทากับ 1 รูปรางของลุมน้ํานั้นจะเปนวงกลม ถามีคาเกิน 1 จะมีรูปรางคลายพัด  และถา

                  มีคานอยกวา 1 จะมีรูปรางคลายสี่เหลี่ยม
                          - สัมประสิทธิ์ความหนาแนน  (Compactness  coefficient  :  Kc)  คืออัตราสวนระหวาง

                  เสนลอมรอบพื้นที่ลุมน้ํา ( perimeter)  ตอเสนรอบวงกลมที่มีเนื้อที่เทากับเนื้อที่ลุมน้ําซึ่งสามารถ

                  เขียนสมการคํานวณคา Kc ไดดังนี้   Kc   =  0.28P

                                                            √A
                            โดย  P  คือ ความยาวเสนลอมรอบพื้นที่ลุมน้ํา (กิโลเมตร) และ A  คือเนื้อที่ลุมน้ํา (ตาราง

                  กิโลเมตร)  คา Kc  มีคาต่ําสุดไดเทากับ 1 ซึ่งรูปรางของลุมน้ํานั้นจะเปนวงกลม คา  Kc  เพิ่มมากขึ้น

                  รูปรางของลุมน้ําจะมีลักษณะผิดปกติไมใชวงกลม

                    3.2   พื้นที่ลุมน้ํา หมายถึง พื้นที่ซึ่งลอมรอบดวยสันปนน้ํา เปนพื้นที่รับน้ําฝนของแมน้ําสายหลัก

                  ในลุมน้ํานั้นๆ เมื่อฝนตกลงมาในพื้นที่ลุมน้ําจะไหลออกสูลําธารสายยอยๆ แลวรวมกันออกสูลําธาร

                  สายใหญ และรวมกันออกสูแมน้ําสายหลักจนไหลออกปากน้ําในที่สุด (คํารณ, 2551)








                                                                   สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13