Page 12 - การวิเคราะห์ทรัพยากรธรรมชาติและการกำหนดบริเวณการใช้ที่ดินตามศักยภาพพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาคลองจันดี (รหัส2202)
P. 12
6
3.9.2 ระบอบอุณหภูมิ ( t : Temperature Regime) คุณลักษณะที่ดินที่เปนตัวแทน ไดแก
คาอุณหภูมิเฉลี่ยในฤดูปลูก เพราะอุณหภูมิมีผลตอการงอกของเมล็ด ตอการออกดอกของพืชบางชนิด
และมีสวนสัมพันธกับกระบวนการสังเคราะหแสง ซึ่งสงผลกระทบตอการเจริญเติบโตของพืช
3.9.3 ความชุมชื้นที่เปนประโยชนตอพืช ( m : Moisture Availability) คุณลักษณะที่ดิน
ที่เปนตัวแทน ไดแก ระยะเวลาการทวมขังของน้ําในฤดูฝน ปริมาณน้ําฝนเฉลี่ยในรอบปหรือ
ความตองการน้ําในชวงการเจริญเติบโตของพืช นอกจากนี้ ควรพิจารณาถึงการกระจายของน้ําฝน
ในแตละพื้นที่และลักษณะของเนื้อดิน ซึ่งมีผลในเรื่องความจุในการอุมน้ําที่เปนประโยชนตอพืช
คาเปรียบเทียบเนื้อดินกับความจุในการอุมน้ํา
ความจุในการอุมน้ํา เนื้อดิน
ต่ํามาก ดินทราย (ดินทรายเนื้อหยาบ)
ต่ํา ดินทรายปนดินรวน (ดินทรายเนื้อละเอียด)
ปานกลาง ดินรวนเหนียวปนทราย ดินรวนปนทราย
สูง ดินเหนียวปนทรายแปง ดินรวน ดินรวนปนดินเหนียว
ดินเหนียว ดินเหนียวปนทราย (ดินรวนและดินเหนียว)
สูงมาก ดินทรายแปง ดินรวนปนทรายแปง ดินรวนเหนียวปน
ทรายแปง ดินรวนปนทรายละเอียดมาก (ดินทรายแปง
และดินรวนปนทรายละเอียดมาก)
ชั้นมาตรฐานความจุในการอุมน้ํา
ชั้นมาตรฐาน เซนติเมตร/เซนติเมตรของดิน
ต่ํามาก < 0.05
ต่ํา 0.05-0.10
ปานกลาง 0.10-0.15
สูง 0.15-0.20
สูงมาก > 0.20
ปริมาณน้ําฝนที่ตกลงมาในแตละพื้นที่ จะมีสวนหนึ่งซึมซาบลงไปในดินสูเบื้องลาง
เมื่อดินอิ่มดวยน้ําแลวสวนที่เหลือจะไหลบาออกไปจากพื้นที่ ปริมาณน้ําฝนที่เหลืออยูในดิน ซึ่งพืช
สามารถนําไปใชประโยชนได เรียกวา effective rainfall จากรายงานของ Kud Reservoir Project ได
แสดงวิธีประเมินหาคา Effective Rainfall จากปริมาณน้ําฝนที่ตกลงมาในแตละเดือนดังนี้
สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน