Page 27 - การวิเคราะห์ทรัพยากรธรรมชาติและการกำหนดบริเวณการใช้ที่ดินตามศักยภาพพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาคลองจันดี (รหัส2202)
P. 27

20





                     6.    2.3  ศักยภาพการคายระเหยน้ํา

                              ศักยภาพการคายระเหยน้ํา  คํานวณโดยใชโปรแกรม CROPWAT  for  Windows  Version

                  4.3  ซึ่งใชขอมูลภูมิอากาศจากสถานีตรวจวัดอากาศ จังหวัดนครศรีธรรมราช ชวงป 2514-2554 ไดแก
                  อุณหภูมิสูงสุด อุณหภูมิต่ําสุดเฉลี่ย ความชื้นสัมพัทธ ความเร็วลม และระยะเวลายาวนานของแสงแดด

                  โดยสรุปไดดังนี้

                              ปริมาณการคายระเหยเฉลี่ยตลอดป                 1,468.2       มิลลิเมตร

                              ปริมาณการคายระเหยสูงสุดในเดือนเมษายน            146.1       มิลลิเมตร
                              ปริมาณการคายระเหยต่ําสุดในเดือนพฤศจิกายน         93.9       มิลลิเมตร


                     6.    2.4  ปริมาณน้ําฝน

                               ปริมาณน้ําฝนที่ตกลงในแตละพื้นที่จะมีสวนหนึ่งซึมซาบลงไปในดิน เมื่อดินอิ่มตัวดวยน้ํา
                  แลวสวนที่เหลือจะไหลบาออกไปจากพื้นที่ ปริมาณน้ําฝนที่เหลืออยูในดินซึ่งพืชสามารถนําไปใช

                  เปนประโยชนไดเรียกวาฝนใชการ ( Effective  Rainfall  :  ER)  จากผลการคํานวณโดยใชโปรแกรม

                  CROPWAT for Windows Version 4.3 ไดปริมาณฝนใชการในแตละเดือน
                               สําหรับพื้นที่ลุมน้ําสาขาคลองจันดี มีปริมาณน้ําฝนเฉลี่ยรายป 2,497.0 มิลลิเมตร จํานวน

                  วันที่ฝนตกเฉลี่ยตลอดทั้งป  168 วัน เมื่อพิจารณาปริมาณน้ําฝนรายเดือนพบวาในเดือนพฤศจิกายน

                  มีปริมาณน้ําฝนมากที่สุด ซึ่งมีปริมาณเฉลี่ย 636.2 มิลลิเมตร โดยมีจํานวนวันที่ฝนตกเฉลี่ย 14 วัน
                     6.2.   5   การวิเคราะหชวงฤดูกาลที่เหมาะสมสําหรับปลูกพืชเศรษฐกิจ

                              การวิเคราะหชวงฤดูเพาะปลูกพืชเพื่อหาชวงเวลาที่เหมาะสมในการปลูกพืช โดยใชขอมูล

                  ปริมาณน้ําฝนเฉลี่ย และคาศักยภาพการคายระเหยน้ําของพืชรายเดือนเฉลี่ย (Evapotranspiration : ETo)
                  ซึ่งคํานวณโดยใชโปรแกรม CROPWAT for Windows Version 4.3 และพิจารณาจากระยะเวลาชวงที่

                  เสนน้ําฝนอยูเหนือเสน 0.5 ศักยภาพการคายระเหยน้ํา ถือเปนชวงระยะเวลาที่เหมาะสมในการปลูกพืช

                  ของลุมน้ําสาขาคลองจันดี (ภาพที่ 2) สามารถสรุปไดดังนี้

                               1)  ชวงระยะเวลาที่เหมาะสมตอการปลูกพืชเปนชวงที่ดินมีความชื้นพอเหมาะตอการ
                  ปลูกพืช ซึ่งในพื้นที่ลุมน้ําสาขาคลองจันดีมีน้ําเพียงพอสําหรับการเพาะปลูกพืชไดตลอดทั้งป

                              2) ชวงระยะเวลาที่มีน้ํามากเกินพอเปนชวงที่ดินมีความชื้นสูงและมีฝนตกชุกอยูในชวง

                  ปลายเดือนเมษายนถึงตนเดือน มิถุนายน และชวงกลางเดือนสิงหาคมถึงตนเดือนกุมภาพันธ  จึงควรมี
                  การวางแผนจัดการระบบการเพาะปลูก ใหเหมาะสม และมีการจัดการเพื่อระบายน้ําออกจากพื้นที่

                  เนื่องพื้นที่ที่เกษตรกรรมอาจไดรับความเสียหายจากอุทกภัย ได










                                                                   สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32