Page 29 - การวิเคราะห์ทรัพยากรธรรมชาติและการกำหนดบริเวณการใช้ที่ดินตามศักยภาพพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาคลองจันดี (รหัส2202)
P. 29

22










































                                 ภาพที่ 2  ชวงการเพาะปลูกพืชที่เหมาะสม พื้นที่ลุมน้ําสาขาคลองจันดี



                   6.3   สภาพภูมิประเทศ

                        สภาพภูมิประเทศสวนใหญเปนพื้นที่ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบ ครอบคลุมพื้นที่อําเภอ

                  ชางกลาง อําเภอนาบอน อําเภอทุงสง อําเภอทุงใหญ และอําเภอฉวาง จังหวัดนครศรีธรรมราช   โดย
                  ดานทิศตะวันออกเฉียง เหนือของลุมน้ําสาขา มีลักษณะ เปนเทือกเขาสูง อยูในเขตอุทยานแหงชาติ

                  เขาหลวง  มีจุดสูงสุดของพื้นที่อยูทางทิศตะวัน ออกเฉียงเหนือของลุมน้ําสาขา  พื้นที่ลุมน้ําสาขา

                  คลองจันดีมีความสูงจากระดับทะเลปานกลางระหวาง 22-1,590 เมตร โดยมียอดเขาหลวงเปนยอดที่สูง
                  ที่สุดอยูในเขตตําบลชางกลาง อําเภอชางกลาง จังหวัดนครศรีธรรมราช  เนินเขาและเทือกเขาเหลานี้

                  เปนตนกําเนิดของ คลองจันดี  ซึ่งไหลไปทางทิศตะวัน ตกผานพื้นที่  และไหลลงสูแมน้ําตาปที่

                  ตําบลฉวาง อําเภอฉวาง จังหวัดนครศรีธรรมราช  พื้นที่จะคอยๆ ลาดเทไปทางบริเวณตอนกลางและ
                  ทิศตะวันตกของพื้นที่ลุมน้ําสาขา (ตารางที่ 4 และภาพที่ 3 ถึงภาพที่ 5)

                         ระดับความลาดชัน สวนใหญมี พื้นที่ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบ  มีเนื้อที่ 145,090 ไร หรือ

                  รอยละ 36.28 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา รองลงมาเปนพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย มีเนื้อที่ 88,339 ไร หรือ

                  รอยละ 22.09 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา พื้นที่ลูกคลื่นลอนลาด  มีเนื้อที่ 61,430 ไร หรือรอยละ 15.36 ของ








                                                                   สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34