Page 26 - การวิเคราะห์ทรัพยากรธรรมชาติและการกำหนดบริเวณการใช้ที่ดินตามศักยภาพพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาคลองจันดี (รหัส2202)
P. 26

19




                    6.2  สภาพภูมิอากาศ

                         สภาพภูมิอากาศโดยทั่วไปของภาคใต คอนขางที่จะเปนเอกลักษณแตกตางจากภูมิภาคอื่นๆ

                  ของประเทศไทย คือ ในรอบ 1 ป จะมีอยูเพียง 2 ฤดูกาล โดยไมมีฤดูหนาว เปนภูมิภาคที่มีฝนเฉลี่ย

                  ทั้งปมากกวาภูมิภาคอื่นๆ มีพิสัยของอุณหภูมิ และความชื้นสัมพัทธระหวางวัน และฤดูกาลนอย
                  จึงสงผลใหพืชพรรณธรรมชาติสวนใหญเปนปาดิบชื้น มีผลตอการดําเนินชีวิตและกิจกรรมทาง

                  เศรษฐกิจของคนที่อาศัยอยูในภาคใต

                         ความแตกตางจากภูมิภาคอื่นๆ ของภูมิอากาศภาคใตมีสาเหตุหรือถูกกําหนดมาจากหลาย
                  ปจจัย ไดแก ปจจัยตําแหนงที่ตั้ง ที่อยูในละติจูดต่ําที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับภูมิภาคอื่น  โดยอยูในชวง

                  ละติจูด 6 องศาเหนือถึง 11 องศาเหนือ ซึ่งอยูใกลเสนศูนยสูตร ทําใหมุมในการรับแสงจากดวงอาทิตย

                  ทํามุมเฉียงนอยกวาเปนผลใหภาคใตไมปรากฏฤดูหนาวที่แทจริงเหมือนภูมิภาคอื่น โดยมีเพียงฤดูฝน

                  และฤดูรอน จนถูกเรียกวา  “ดินแดนฝน 8 แดด 4 ”  ดังนั้น จึงจําแนกภูมิอากาศเปนแบบศูนยสูตร
                  เขตรอนชื้นตลอดป มีฝนตกหนักในฤดูหนาว จึงไดรับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ

                  ซึ่งเปนลมหนาว และแหงที่พัดมาจากแผนดิน ในชวงกลางเดือนตุลาคมถึงกลางเดือนกุมภาพันธ ขณะ

                  เคลื่อนตัวผานทะเลอาวไทยก็จะนําเอาความชื้นมาดวย เมื่อปะทะกับภูเขาสูงทั้งเทือกเขาภูเก็ต เทือกเขา
                  นครศรีธรรมราช และเทือกเขาสันกาลาคีรี ทําใหมีฝนตกมากในดานหนาของภูเขา คือ ภาคใต

                  ฝงตะวันออก ไดแก จังหวัดชุมพร สุราษฎรธานี นครศรีธรรมราช พัทลุง สงขลา ปตตานี ยะลา และ

                  นราธิวาส (กวี, 2353)  และจากการรวบรวมขอมูลภูมิอากาศของกรมอุตุนิยมวิทยา ณ สถานีตรวจวัด
                  อากาศ จังหวัดนครศรีธรรมราช ในรอบ 40 ป (ชวงป 2514-2554) ดังตารางที่  3 ประกอบดวย ขอมูล

                  ปริมาณน้ําฝน จํานวนวันที่ฝนตก อุณหภูมิสูงสุด อุณหภูมิต่ําสุด อุณหภูมิเฉลี่ย ความชื้นสัมพัทธ

                  ศักยภาพการคายระเหยน้ํา รายละเอียดดังนี้
                     6.    2.1   อุณหภูมิ

                              บริเวณพื้นที่ลุมน้ําสาขาคลองจันดี มีอุณหภูมิเฉลี่ยตลอดป 27.1 องศา  เซลเซียส

                  มีคาเฉลี่ยสูงสุดในเดือนเมษายนถึงเดือนพฤษภาคม 28.2 องศาเซลเซียส และคาเฉลี่ยต่ําสุด ในเดือน

                  ธันวาคม 25.7 องศาเซลเซียส

                     6.    2.2   ความชื้นสัมพัทธ

                              มีความชื้นสัมพัทธเฉลี่ยตลอดป 81.1 เปอรเซ็นต  คาเฉลี่ยสูงสุดในเดือนพฤศจิกายน

                  86.8 เปอรเซ็นต และคาเฉลี่ยต่ําสุดในเดือนสิงหาคม 77.2 เปอรเซ็นต











                                                                   สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31