Page 22 - การวิเคราะห์ทรัพยากรธรรมชาติและการกำหนดบริเวณการใช้ที่ดินตามศักยภาพพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาคลองจันดี (รหัส2202)
P. 22

15




                    3.10 ชั้นความเหมาะสมของที่ดิน  (Land  suitability  Class)  เปนผลของการประเมินคุณภาพที่ดิน

                  โดยแสดงขอจํากัดของคุณลักษณะที่ดินที่มีผลโดยตรง   คือ  การใชประโยชนที่ดิน   การจําแนก

                  ชั้นความเหมาะสมของที่ดินสําหรับการปลูกพืช แบงออกเปน 4 ชั้น ดังนี้   (สํานักนโยบายและแผน
                  การใชที่ดิน, 2553)

                     3.    10.1 ที่ดินมีความเหมาะสมสูง  (S1 : Highly suitable) การใชที่ดินไมมีขอจํากัดใดๆ  ที่จะ
                  ลดความสามารถในการผลิต หรือจะตองเพิ่มปจจัยในการผลิตตางๆ

                     3.    10.2  ที่ดินมีความเหมาะสมปานกลาง  (S2  :  Moderately  suitable)  ที่ดินมีความเหมาะสม
                  ในการใชประโยชน  แตมีขอจํากัดบางอยางที่อาจลดความสามารถในการผลิตหรือจะตองเพิ่มปจจัย

                  การผลิต เพื่อรักษาระดับความสามารถในการผลิตของที่ดิน   เมื่อเปรียบเทียบกับที่ดินที่อยูในระดับ

                  ความเหมาะสมสูง
                     3.    10.3  ที่ดินมีความเหมาะสมเล็กนอย  (S3  :  Marginally  suitable)  ที่ดินมีขอจํากัดในการใช

                  ประโยชนอยูในระดับรุนแรง  ซึ่งการไดรับผลตอบแทนหรือการใชปจจัยการผลิตแทบจะไมคุมคาตอ

                  การลงทุน
                     3.    10.4 ที่ดินที่ไมมีความเหมาะสม  (N : Not suitable) ที่ดินไมเอื้ออํานวยตอการใชประโยชน

                  อยางยั่งยืนซึ่งผลตอบแทนจากการใชที่ดินไมคุมคาแกการลงทุน

                    3.11 การชะลางพังทลายของดิน หรือการกรอนดิน หมายถึง กระบวนการแตกกระจาย และการพัด

                  พาไปของดินโดยตัวการกัดกรอน การกรอนดินแบงไดเปน 2 ประเภท คือ 1) การกรอนโดยธรรมชาติ
                  ซึ่งเกิดขึ้นตามธรรมชาติ โดยมีทั้งน้ําและลมเปนตัวการ 2) การกรอนดินที่มีตัวเรง หมายถึง การกรอนดิน

                  ที่มนุษย หรือสัตวเลี้ยงเขามาชวยเรงใหมีการกัดกรอนเพิ่มขึ้นจากการกรอนดินโดยธรรมชาติ
                  (คณาจารยภาควิชาปฐพีวิทยา ,  2544) การศึกษาและประเมินคาการสูญเสียดินมีหลายวิธี ซึ่งประเมิน

                  การชะลางพังทลายของดินในลุมน้ําสาขา    คลองจันดี  (รหัส  2202 ) ไดประเมินจากสมการ

                  การสูญเสียดินสากล (Universal Soil Loss Equation: USLE) ของ Wischmeier & Smith ป ค.ศ. 1978
                  มีรูปสมการ ดังนี้

                                                   A     =    R K L S C P


                         A  คือ คาการสูญเสียดินตอหนวยของพื้นที่  ซึ่งไดจากการคํานวณโดยการคูณคาปจจัยตางๆ

                  6 ปจจัย คานี้เปนการประเมินคาเฉลี่ยรายปของการชะลางพังทลายของชองวางระหวางรองริ้ว (Inter rill)
                  กับรองริ้ว (rill) จากพายุฝน (rain storms) สําหรับพื้นที่ดอน (fieldsized upland areas) คานี้โดยทั่วไป

                  ไมรวมการชะลางพังทลายจากรองลึก ( gully) ริมฝงน้ํา ( stream  blank) หรือการพังทลายจากลม
                  แตคา A  นี้ จะรวมตะกอนดินที่ถูกพัดพามากอนจะถึงตอนลางของลําน้ํา ( downslope  stream) หรือ

                  อางเก็บน้ํา (reservoir)







                                                                   สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27