Page 23 - การวิเคราะห์ทรัพยากรธรรมชาติและการกำหนดบริเวณการใช้ที่ดินตามศักยภาพพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาคลองจันดี (รหัส2202)
P. 23

16





                        R คือ คาที่รวมทั้งปจจัยของน้ําฝนและการไหลบา ( rainfall and runoff erosivity factorซึ่งเปน

                  คาเฉพาะแหง ปกติคา  R  จะเปนคาแสดงถึงคาเฉลี่ยรายปตอหนวยดัชนีการชะลางพังทลาย ( erosion

                  index unit)
                        K  คือ คาปจจัยความคงทนตอการถูกชะลางพังทลายของดิน  (Soil  Erodibility  Factor)  เปนคา

                  เฉพาะแตละชั้นของดิน (soil horizon) คา K  เปนคาที่แสดงความหมายถึงการสูญเสียดินตอหนวย ของ
                  พื้นที่ตอหนวยแปลงทดลองของคา R

                        L คือ คาปจจัยความยาวของความลาดเท  (Slope Length Factor) เปนคาที่ไมมีขนาดหรือหนวย
                  (เปนคาที่ไมไดใชความยาวของความลาดเทที่แทจริง) คา L เปนคาที่แสดงความหมายถึงอัตราสวนของการ

                  สูญเสียดิน

                        S  คือ คาปจจัยความชันของความลาดเท   (Slope  Steepness  Factor)  เปนคาที่ไมมีขนาดหรือ
                  หนวย (เปนคาที่ไมไดใชความชันของความลาดเทที่แทจริง) คา S เปนคาที่แสดงความหมายถึงอัตราสวน

                  ของการสูญเสียดินจากความลาดชันที่แทจริงกับความชัน 9 เปอรเซ็นต ซึ่งอยูภายใตสภาวะเงื่อนไข
                  เดียวกัน

                        C คือ คาปจจัยการจัดการพืช (Crop Management Factor) เปนคาที่ไมมีขนาดหรือหนวย คา  C

                  เปนคาที่แสดงความหมายถึงอัตราสวนของการสูญเสียดินระหวางพื้นที่ที่มีการปลูกพืชชนิดใดชนิด
                  หนึ่งปกคลุมอยูกับพื้นที่ที่ถูกไถพรวนที่ปราศจากพืชคลุมดิน ซึ่งใชในการหาคาความคงทนตอการถูก

                  ชะลางพังทลายของดิน
                        P  คือ คาปจจัยการปฏิบัติปองกันการชะลางพังทลาย ( Conservation  Practice) เปนคาที่ไมมี

                  ขนาดหรือหนวย คา P เปนคาที่แสดงความหมายถึงอัตราสวนระหวางการสูญเสียดิน จากพื้นที่ที่มีการ

                  อนุรักษแบบตางๆ เชน ทําแนวคันดิน ( contouring) การปลูกพืชเปนแถบ (strip  cropping) หรือการทํา
                  ขั้นบันได (terracing) กับการไถพรวนเพาะปลูกขึ้นลงตามความลาดเท


                    3.12 การวางแผนการใชที่ดิน หมายถึง การทําการประเมินอยางมีระบบในการวิเคราะหขอมูลทาง
                  กายภาพ เศรษฐกิจและสังคม และกําหนดใหมีการใชที่ดินแบบตางๆ เพื่อชวยหรือสนับสนุนผูมีอํานาจ

                  ในการตัดสินใจเลือกใชเพื่อเพิ่มผลผลิตในการพัฒนาอยางยั่งยืนและตรงกับความตองการของสังคม

                  และเปนการคาดคะเนการใชที่ดินตามศักยภาพของทรัพยากรที่ดิน โดยมีพื้นฐานจากการเปรียบเทียบ
                  ความสัมพันธระหวางความตองการของผูใชที่ดินกับการตอบสนองของทรัพยากร    ธรรมชาติและ

                  สิ่งแวดลอม ซึ่งระดับของการวางแผนหรือการกําหนดแผนการใชที่ดินนั้นจะขึ้นอยูกับวัตถุประสงค

                  ของการนําแผนการใชที่ดินไปใช สามารถแบงระดับการวางแผนไดเปน  4 ระดับ ไดแก 1) ระดับชาติ/
                  ประเทศ 2) ระดับภาค/ลุมน้ําหลัก 3) ระดับจังหวัด/อําเภอ/ลุมน้ําสาขา 4) ระดับตําบล/หมูบาน (สํานัก

                  นโยบายและแผนการใชที่ดิน, 2553)








                                                                   สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28