Page 19 - การวิเคราะห์ทรัพยากรธรรมชาติและการกำหนดบริเวณการใช้ที่ดินตามศักยภาพพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาคลองจันดี (รหัส2202)
P. 19
12
3.9. 8 ความเสียหายจากน้ําทวม ( f : Flood Hazard) คุณลักษณะที่ดินที่เปนตัวแทน ไดแก
จํานวนครั้งที่น้ําทวมในรอบชวงปที่กําหนดไว หมายถึง พืชไดรับความเสียหายจากการที่น้ําทวม
บนผิวดินชั่วระยะเวลาหนึ่ง หรือเปนน้ําที่มีการไหลบา การที่น้ําทวมขังจะทําใหดินขาดออกซิเจน
สวนน้ําที่ไหลบาจะทําใหรากพืชไดรับความกระทบกระเทือน หรือรากอาจหลุดพนผิวดินขึ้นมาได
ความเสียหายจากน้ําทวมไมใชจะเกิดกับพืชเทานั้น แตยังทําความเสียหายใหกับดินและโครงสราง
พื้นฐานตางๆ ที่เกี่ยวของกับการใชที่ดิน
ชั้นมาตรฐานความเสียหายจากน้ําทวม
ชั้นมาตรฐาน ความถี่ในการเกิดน้ําทวม
ต่ํา 10 ปขึ้นไปเกิด 1 ครั้ง
คอนขางต่ํา 6-9 ปเกิด 1 ครั้ง
ปานกลาง 3-5 ปเกิด 1 ครั้ง
สูง 1-2 ปเกิด 1 ครั้ง
3.9. 9 การมีเกลือมากเกินไป ( x : Excess of Salts) คุณลักษณะที่ดินที่เปนตัวแทน ไดแก
ปริมาณเกลืออิสระที่สะสมมากเกินพอจนเปนอันตรายตอการเจริญเติบโตของพืช มีอัตรารอยละของ
โซเดียมที่แลกเปลี่ยนได < 15 เปอรเซ็นต หรือความเค็มที่มีอิทธิพลที่ทําความเสียหายใหกับพืช
โดยกระบวนการออสโมซิส กลาวคือถามีเกลือสะสมในดินมาก ปริมาณน้ําในรากพืชและตนพืชจะถูกดูด
ออกมาทําใหตนพืชขาดน้ํา ถาความเค็มมีระดับสูงมากอาจทําใหพืชตายได พืชแตละชนิดจะมี
ความสามารถในการทนทานตอปริมาณเกลือแตกตางกันออกไป เชน ฝายมีความทนทานสูงมากถึง
10-16 เดซิซีเมนสตอเมตร องุน ขาว ขาวโพด ถั่วตางๆ มะเขือเทศ มีความทนทานปานกลางประมาณ
4-10 เดซิซีเมนสตอเมตร สําหรับสม มะนาว ออย มีความทนทานต่ํามาก ประมาณ 2-4 เดซิซีเมนส
ตอเมตร
ชั้นมาตรฐานการมีเกลือมากเกินไป
ชั้นมาตรฐาน คาความนําไฟฟา (เดซิซีเมนสตอเมตร)
ดินไมเค็ม 0-2
ดินเค็มเล็กนอย 2-4
ดินเค็มปานกลาง 4-8
ดินเค็มมาก 8-16
ดินเค็มจัด > 16
สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน