Page 125 - รายงานสภาพการใช้ที่ดินและการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน จังหวัดสุรินทร์ พ.ศ. 2554
P. 125

110





                  ป้ องกัน และบริหารการใช้ทรัพยากรธรรมชาติที เหลืออยู่ให้มีประสิทธิภาพอย่างสูงสุด โดยเฉพาะใน

                  เขตพื<นที ป่าเพื อการอนุรักษ์ (Zone C) ซึ งปัจจุบันมีพื<นที ป่าคงเหลืออยู่เพียงร้อยละ 33.59 ของเนื<อที ป่า

                  เพื อการอนุรักษ์ (Zone  C) ทั<งหมด อาจทําให้มีผลกระทบต่อสิ งแวดล้อมจากการเปลี ยนแปลงการใช้
                  ที ดินได้ง่ายและรุนแรง รัฐบาลจึงควรมีมาตรการที เข้มงวด เพื อรักษาพื<นที ป่าไม้ ที เป็นป่าสมบูรณ์ให้

                  คงสภาพอยู่เพื อรักษาความสมดุลในระบบนิเวศวิทยาภายในพื<นที  ดังต่อไปนี<

                                   (1)  ควบคุมมิให้มีการเปลี ยนแปลงธรรมชาติไปใช้ประโยชน์ในรูปแบบอื นๆ

                                   (2)  ควรมีการบํารุงรักษาสภาพป่าธรรมชาติตามหลักวิชาการ
                                   (3)   ดําเนินการป้ องกันและปราบปรามการลักลอบตัดไม้ทําลายป่ าให้มี

                  ประสิทธิภาพ และมีผลการปฏิบัติอย่างต่อเนื อง โดยดําเนินการกับผู้กระทําผิดอย่างเด็ดขาด

                                   (4)   เจ้าหน้าที ผู้รับผิดชอบในพื<นที ควรรีบดําเนินการปลูกป่าทดแทนโดยเร็ว

                  เพื อป้ องกันการบุกรุกขยายพื<นที ต่อไป
                                   (5)   ควรส่งเสริมให้ราษฎรในพื<นที และพื<นที ข้างเคียงเห็นคุณค่าของทรัพยากร

                  ป่าไม้ และมีส่วนร่วมในการดูแลรักษาป่าไม้ในพื<นที
                             3)    สภาวะนํ<าท่วมใน ปี พ.ศ. 2554 บริเวณพื<นที ภาคกลาง และภาคเหนือตอนล่าง ได้

                  สร้างความเสียหายให้กับพื<นที เขตอุตสาหกรรมในภาคกลางหลายแห่ง โดยเฉพาะโรงงาน

                  อุตสาหกรรมผลิตชิ<นส่วนรถยนต์ ทําให้การผลิตชิ<นส่วนรถยนต์ชะลอตัวลง และบางส่วนได้หันไปใช้

                  ยางสังเคราะห์แทนเนื องจากราคาตํ ากว่า รวมทั<งสภาวะเศรษฐกิจของกลุ่มประเทศยุโรปซึ งมีความผัน
                  ผวน อาจส่งผลทําให้ราคายางพาราในอนาคตมีแนวโน้มลดตํ าลงด้วย รัฐบาลจึงควรมีการกําหนด

                  นโยบายที แน่นอนในการผลิตยางพารา และหาตลาดรองรับผลผลิตยางพาราในอนาคตที จะเพิ ม

                  ปริมาณขึ<นในอีก 4-5 ปีข้างหน้า เพื อป้ องกันราคาผลผลิตยางพาราตกตํ า เนื องจากพื<นที ปลูกยางพารา
                  ในพื<นที ภาคตะวันออกเฉียงเหนือส่วนใหญ่เป็นพื<นที ปลูกใหม่  โดยพิจารณานําข้อมูลการกําหนดเขต

                  ความเหมาะสมของที ดินสําหรับปลูกยางพาราที กรมพัฒนาที ดินได้ดําเนินการไว้แล้ว มาใช้ในการ

                  พิจารณากําหนดพื<นที เหมาะสมในโครงการส่งเสริมการปลูกยางพาราให้มีผลเป็นรูปธรรมในทาง

                  ปฏิบัติ
                             4)   การใช้ที ดินไม่เหมาะสมกับสมรรถนะของที ดิน ทําให้เกิดปัญหาผลผลิตทาง

                  การเกษตรตํ า จึงต้องขยายพื<นที เกษตรกรรมออกไป เพื อให้มีมูลค่าผลตอบแทนที เพียงพอต่อการดํารง

                  ชีพของเกษตรกร ส่งผลทําให้เกิดการเสื อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ รัฐบาลจึงควรกําหนด
                  มาตรการที เข้มแข็งเพื อกําหนดให้มีการใช้ที ดินให้เหมาะสมและเต็มสมรรถนะของที ดิน เช่น

                  การส่งเสริมให้มีการทํานาในพื<นที ทิ<งร้างบนกลุ่มดินที  15  ในเขตชลประทาน ของจังหวัดสุรินทร์

                  ซึ งเป็นพื<นที ที มีศักยภาพเหมาะสมในการปลูกข้าวเป็นอย่างยิ ง รวมทั<งส่งเสริมการใช้พระราชบัญญัติ

                  พัฒนาที ดิน พ.ศ.  2551 ให้เป็นรูปธรรม โดยเฉพาะในมาตรา 13 การกําหนดเขตอนุรักษ์ดินและนํ<าใน
   120   121   122   123   124   125   126   127   128   129   130