Page 638 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 638

624




                  ตารางที่ 61.1 (ตอ) สภาพภูมิอากาศ และปริมาณน้ําฝนรายปของจังหวัดตางๆ ที่พบกลุมชุดดินที่ 61

                                                                                อุณหภูมิเฉลี่ย/ป ความชื้นสัมพัทธ
                                                    ปริมาณน้ําฝน   การระเหยน้ํา
                         ภาค         จังหวัด                                    (องศาเซลเซียส)   เฉลี่ย/ป (%)
                                                      (มม./ป)       (มม./ป)
                                                                                 ชวง   เฉลี่ย   ชวง   เฉลี่ย
                   เหนือ             เชียงใหม       1000-1500     1500-1530    21-32   26     49-89    71

                                     ลําปาง          1000-1100     1510-1560    21-33   26     49-89    73
                                     ลําพูน          900-1000      1530-1540    21-33   26     49-91    72

                                     เชียงราย        1100-1500     1400-1500    19-31   24     52-92    76
                                     พะเยา           1100-1500     1500-1510    20-32   25     52-92    75
                                     แพร            1000-1100     1530-1540    21-33   26     53-92    76

                                     เลย             1000-1400     1570-1620    21-32   26     51-91    74
                                     กําแพงเพชร      1100-1300     1590-1620    23-34   27     54-93    76

                                     สุโขทัย         1000-1300     1560-1590    22-33   28     57-93    78
                   ตะวันตก           กาญจนบุรี       1000-1600     1600-1660    22-37   28     52-89    74


                          1.2 วัตถุตนกําเนิดดิน : เกิดจากการผุพังสลายตัวของหินตนกําเนิดชนิดตางๆ ที่อยูกับที่และ

                  บางสวนถูกเคลื่อนยายลงมาทับถมบริเวณที่ลาดเชิงเขา(colluviated materials)


                          1.3 ภูมิสัณฐาน : พื้นที่เหลือคางจากการกัดกรอน(erosion surface and peneplain) และเนินเขา

                          1.4  สภาพพื้นที่และความลาดเท : ลูกคลื่นลอนลาดถึงเปนเขาชัน ความลาดเทอยูระหวาง 5-35

                  เปอรเซ็นต

                          1.5 สภาพการระบายน้ําของดิน : ดีปานกลางถึงดี


                          1.6 พืชพรรณและการใชประโยชน : ปลูกพืชไร ไมผล ไมยืนตน และยังคงสภาพเปนปา  สําหรับ

                  พื้นที่โครงการชลประทานในแตละจังหวัด ซึ่งพบกลุมชุดดินที่ 61 แสดงไวในตารางที่ 61.2

                  ตารางที่ 61.2 พื้นที่โครงการชลประทาน และความจุของอางเก็บน้ําในจังหวัดที่พบกลุมชุดดินที่ 61


                                                          พื้นที่ชลประทาน   ความจุ   โครงการขนาด    โครงการ
                         ภาค         เขต     จังหวัด
                                                                                3
                                                               (ไร)      (ลาน ม. )   ใหญและกลาง  ขนาดเล็ก
                   ตะวันออก           2      ตราด             79,050       33.2           10           3

                   ตะวันออกเฉียงเหนือ 3      นครราชสีมา      651,744      1,166.2         43           5
                                      4      นครพนม          208,830       79.7           13           0

                                             มุกดาหาร         35,825       54.6           8            2
                                             ศรีสะเกษ         73,140      123.7           12           4
                                             อํานาจเจริญ      18,884       21.5           3            4
   633   634   635   636   637   638   639   640   641   642   643