Page 633 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 633

619




                  ตารางที่ 60.3 (ตอ) การแพรกระจายของกลุมชุดดินที่ 60 ในจังหวัดตางๆ

                           ภาค           เขตพัฒนาที่ดิน             จังหวัด                   เนื้อที่ (ไร)

                   ใต                        11                    นครศรีธรรมราช              482.96

                                                                    พังงา                     2,550.96

                                              12                    ตรัง                      9,781.26


                                                                    ปตตานี                   4,001.48

                                                                    พัทลุง                   22,138.11

                                                                    สตูล                      3,931.56

                                                รวมทั้งสิ้น                                 415,055.28


                  2. การจําแนกดิน

                         ชื่อชุดดิน(soil series)  และการจําแนกระดับวงศ(soil family) ในกลุมชุดดินที่ 60  ตามระบบ

                  อนุกรมวิธานดิน(soil taxonomy)

                         ยังไมมีการตั้งชื่อชุดดิน


                  3. ลักษณะของกลุมชุดดินและของชุดดินในกลุมชุดดินที่ 60
                         ลักษณะของกลุมดิน สวนใหญเปนดินลึก เนื้อดินเปนดินรวน บางแหงคอนขางเปนทราย หรือมีชั้น

                  กรวดลูกรังในชั้นดินตอนลาง ซึ่งแสดงการตกตะกอนตางยุคของดินอันเปนผลมาจากการเกิดน้ําทวมในอดีต

                  ปฏิกิริยาดินเปนกลางถึงกรดปานกลาง(pH 6.0-7.0) ความอุดมสมบูรณอยูในระดับปานกลาง

                  4. การประเมินความเหมาะสมสําหรับการปลูกพืชตางๆ

                         กลุมชุดดินที่ 60  มีศักยภาพเหมาะสมในการปลูกพืชผัก พืชไร ไมผล  และไมยืนตน เนื่องจากเปน

                  ดินลึก การระบายน้ําดีปานกลางถึงดี  ความอุดมสมบูรณอยูในระดับปานกลาง  มีแหลงน้ําธรรมชาติใน

                  บริเวณใกลเคียง เพราะสวนใหญกลุมชุดดินนี้พบบริเวณสันริมฝงแมน้ํา และบริเวณหุบเขา

                  5. ปญหาและขอจํากัดในการปลูกพืช


                          5.1 น้ําทวมในบางพื้นที่ และในบางป ทําใหพืชที่ปลูกเสียหาย

                          5.2 เนื้อดินคอนขางเปนทราย และความอุดมสมบูรณต่ําในบางพื้นที่


                          5.3 ความชื้นในดินไมเพียงพอในการปลูกพืชชวงฤดูแลง
   628   629   630   631   632   633   634   635   636   637   638