Page 641 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 641

627



                  3. ลักษณะของกลุมชุดดินและของชุดดินในกลุมชุดดินที่ 61

                         ลักษณะและคุณสมบัติตางๆ ของดิน เชน เนื้อดิน สีดิน ความลึกของดิน ปฏิกิริยาของดิน ตลอดจน

                  ความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติไมแนนอนขึ้นอยูกับหินที่เปนวัตถุตนกําเนิดดินบริเวณนั้นๆ แตสวนใหญ

                  มักมีเศษหิน กอนหิน และหินพื้นโผลกระจัดกระจายที่ผิวดิน

                  4. การประเมินความเหมาะสมสําหรับการปลูกพืชตางๆ


                         ความเหมาะสมหรือศักยภาพของกลุมชุดดินนี้ในการเพาะปลูกพืช แตกตางกันไป ทั้งนี้ขึ้นอยูกับ
                  ความลึกของดิน เนื้อดิน สภาพพื้นที่และความลาดเท ดังนั้นในการประเมินความเหมาะสมของดิน จึงใชชั้น

                  ความลาดเทของพื้นที่เปนหลัก  เพราะมีความสัมพันธกับความลึกของดิน  การชะลางพังทลายและระดับ

                  ความชื้นในดิน

                  5. ปญหาและขอจํากัดในการปลูกพืช


                          5.1 การชะลางพังทลายของดิน  เนื่องจากกลุมชุดดินนี้พบในสภาพพื้นที่ซึ่งมีความลาดชันสูงและ
                  ดินตื้น หากไมมีการอนุรักษดินและน้ําที่ดี จะเกิดการชะลางพังทลายในระดับปานกลางถึงรุนแรง


                          5.2 ดินตื้นและมีความอุดมสมบูรณต่ํา  เมื่อหนาดินถูกชะลางพังทลายออกไปมาก หินที่เปนวัตถุ

                  ตนกําเนิดดินจึงโผลขึ้นมาที่ผิวดิน หรือพบภายในความลึก 50  ซม.จากผิวดิน การสูญเสียหนาดินทําให

                  ความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติลดลงไป

                          5.3 ขาดแคลนน้ําในการเพาะปลูก  กลุมชุดดินนี้อยูในพื้นที่สูงและมีความลาดเทสูง น้ําฝนจึงไหล

                  บาลงสูที่ต่ําอยางรวดเร็ว มีโอกาสซึมลงไปสะสมในสวนของน้ําใตดินนอย ดินจึงแหงเร็วเปนเหตุใหพืชขาด

                  น้ํา

                  6. การจัดการเพื่อใหเหมาะสมในการปลูกพืช

                         ในกรณีที่จะนํากลุมชุดดินที่ 61 โดยเฉพาะพื้นที่ซึ่งมีความลาดเทนอยกวา 21 เปอรเซ็นต และดินมี

                  ความลึกกวา 50 ซม.มาใชในการเพาะปลูก ควรดําเนินการดังนี้


                          6.1 การอนุรักษดินและน้ํา  มีความจําเปนอยางยิ่ง เนื่องจากการเพาะปลูกโดยไมมีการอนุรักษดิน
                  และน้ําที่เหมาะสม จะเกิดการชะลางพังทลายของดินในระดับรุนแรงปานกลางถึงรุนแรง สําหรับการอนุรักษ

                  ดินและน้ําในพื้นที่ซึ่งมีสภาพเชนนี้ควรใชทั้งมาตรการดานพืช (ดานการเกษตร) และมาตรการดานวิศวกรรม

                  ควบคูกันไปดังนี้ 1) มาตรการดานพืชหรือดานการเกษตร  มีหลายอยาง เชน การใชปุยพืชสดและพืชคลุม

                  ดิน  การใชเศษพืชคลุมดิน การเตรียมดินระบบอนุรักษ การไถพรวนและปลูกพืชตามแนวระดับ  การใสปุย

                  และปรับปรุงสมบัติของดิน  และการใชที่ดินแบบวนเกษตร  และ 2) มาตรการทางวิศวกรรม  ที่ควรนํามา
                  ปฏิบัติ ไดแก ทําคูรับน้ําขอบเขา ขั้นบันไดดิน และการทําบอดักตะกอน เปนตน
   636   637   638   639   640   641   642   643   644   645   646