Page 634 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 634

620



                  6. การจัดการเพื่อใหเหมาะสมในการปลูกพืช

                          6.1 การแกปญหาน้ําทวม  ควรทําพนัง หรือเขื่อนกันน้ํา พรอมทั้งขุดคูระบายน้ําที่ทวมขังออกจาก

                  พื้นที่เพาะปลูก หรือปรับชวงเวลาในการปลูกพืชเพื่อหลีกเลี่ยงภาวะน้ําทวม

                          6.2 การปรับปรุงสมบัติทางกายภาพของดิน  เนื่องจากในบางพื้นที่ดินคอนขางเปนทราย จึงควร

                  ใสปุยอินทรีย เชน ปุยคอก หรือปุยหมักอัตรา 1-2  ตัน/ไร  หรือปลูกพืชปุยสด แลวไถกลบเมื่อออกดอก

                  ประมาณ 50 เปอรเซ็นต ปลอยใหยอยสลายในดินประมาณ 3 สัปดาห อินทรียวัตถุที่เพิ่มขึ้นจะชวยปรับปรุง

                  สมบัติทางกายภาพของดิน

                          6.3 การรักษาความชื้นในดิน  โดยใชวัสดุคลุมดินระหวางแถวพืช หรือปลูกพืชคลุมดินระหวางแถว

                  ไมผล และไมโตเร็ว การปฏิบัติดังกลาวยังชวยปองกันการชะลางพังทลายของดินดวย


                          6.4 การแกปญหาการขาดแคลนน้ําในการเพาะปลูก  โดย 1) สูบน้ําจากแหลงน้ําธรรมชาติ เชน

                  แมน้ําหรือลําคลอง หรือ 2) หากอยูหางจากแมน้ํา ควรพัฒนาแหลงน้ําในพื้นที่

                          6.5 การปรับปรุงความอุดมสมบูรณของดิน  ควรดําเนินการดังตอไปนี้

                         6.5.1 จัดระบบการปลูกพืชใหเหมาะสมดังนี้ 1) ใชระบบการปลูกพืชหมุนเวียนที่มีพืชตระกูลถั่วแทรกอยู

                  กับพืชอื่น และ 2) ปลูกพืชตระกูลถั่วแซมอยูในแถวพืชหลัก


                         6.5.2 ใชปุยอินทรียรวมกับปุยเคมีดังนี้ 1) ใสปุยหมักหรือปุยคอกอัตรา 1-2 ตัน/ไร ในบางปควรทํา

                  ปุยพืชสด โดยปลูกพืชปุยสด เชน ปอเทือง ถั่วพรา ถั่วพุม  ฯลฯ กอนปลูกพืชหลักประมาณ 2 เดือน แลวไถ
                  กลบเมื่อออกดอก  ปุยอินทรียเหลานี้นอกจากชวยเพิ่มธาตุอาหารแลว ยังชวยปรับปรุงสมบัติทางกายภาพ

                  เคมีและชีวภาพของดินดวย และ 2) หากผลการวิเคราะหดินทางเคมียังแสดงวา ดินขาดธาตุใดธาตุหนึ่งก็

                  เสริมดวยปุยเคมี สําหรับสูตร อัตราและวิธีการใชปุยเคมีขึ้นอยูกับชนิดของพืช ซึ่งกลาวไวในหัวขอที่ 9

                  7. ขอเสนอแนะ


                         การใชประโยชนกลุมชุดดินนี้ ควรเริ่มจากจัดหา หรือพัฒนาแหลงน้ําใหเพียงพอ แลวจึงดําเนินการ
                  ดวยระบบเกษตรแบบผสมผสาน คือ ปลูกผัก  พืชไรและไมผลควบคูกันไป สําหรับไมผลที่ควรปลูก ไดแก

                  มะมวง ขนุน  ฝรั่ง กลวย ลําไย และมะละกอ สวนชนิดของผัก และพืชไรที่จะปลูกในแตละชวงของป ให

                  พิจารณาจากความตองการของตลาด เมื่อมีแหลงน้ําเพียงพอก็สามารถปลูกไดทั้งฤดูฝนและฤดูแลง การ

                  ปรับปรุงความอุดมสมบูรณของดินควรใชปุยอินทรียรวมกับปุยเคมีอยางเหมาะสม
   629   630   631   632   633   634   635   636   637   638   639