Page 642 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 642

628



                         การเลือกมาตรการอนุรักษดินและน้ํามาใชในแตละพื้นที่ พิจารณาจากชนิดของดิน  ความลาดเท

                  ตลอดจนสภาพเศรษฐกิจสังคมของเกษตรกร ในบางพื้นที่อาจจําเปนตองนํามาตรการมากกวาหนึ่งอยางมา
                  ผสมผสานกัน เพื่อใหเกิดผลดีที่สุด


                          6.2  การพัฒนาแหลงน้ํา  เพื่อใหมีน้ําเพียงพอสําหรับการเพาะปลูก สระหรือบอที่ขุดยังชวยดัก

                  ตะกอนดินไมใหลงไปทับถมในพื้นที่ต่ํา

                          6.3  ปรับปรุงความอุดมสมบูรณของดิน   เนื่องจากดินที่จัดอยูในกลุมชุดดินนี้มีดินหลายชนิด

                  ปะปนกัน แตละชนิดก็มีสมบัติและลักษณะที่แตกตางกันมาก นอกจากนี้ยังพบในภูมิอากาศที่คอนขาง

                  แตกตางกันดวย  ดังนั้นการจัดการจึงควรใชวิธีที่แตกตางกันตามชนิดหรือแตละชุดดิน โดยตองมีการ

                  ตรวจสอบชนิดของดินใหแนชัด กอนที่จะดําเนินการ

                         สําหรับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคเหนือ และภาคกลาง ดินที่พบในหนวยแผนที่ 61 หรือกลุมชุด
                  ดินที่ 61 จะประกอบดวยชุดดินในกลุมที่ 29, 30, 48, 56 และ บางสวนของกลุมชุดดินที่ 35 และ 47 สวนใน

                  ภาคใตและภาคตะวันออก จะประกอบดวยชุดดินในกลุม 45, 50 และ 51 เปนสวนใหญ ดังนั้นการจัดการ

                  ดินและปรับปรุงความอุดมสมบูรณของดิน ขอใหอนุโลมใชวิธีการที่กลาวไวในกลุมชุดดินนั้นๆ สําหรับการ
                  ปลูกพืชแตละชนิด


                  7. ขอเสนอแนะ

                         เนื่องจากกลุมชุดดินที่ 61 พบในบริเวณเขตลุมน้ําชั้นที่ 2 และ 3 เปนสวนใหญ สภาพพื้นที่เปนเนินเขาถึง

                  เปนเขาชันและดินมีความลึกแตกตางกัน ตั้งแตดินตื้นมีหินโผลถึงดินลึก มีการชะลางพังทลายงาย การใช

                  ประโยชนจึงตองระมัดระวังมากเปนพิเศษ กลาวคือ 1) พื้นที่ซึ่งมีความลาดเทตั้งแต 20 เปอรเซ็นต ขึ้นไป ไม

                  ควรใชในการเพาะปลูกพืชที่ตองไถพรวนบอยครั้ง แตควรรักษาไวเปนพื้นที่ปาไมธรรมชาติ เพื่อเปนพื้นที่ปา
                  ตนน้ําลําธาร  ซึ่งจะชวยรักษาสมดุลของสภาพแวดลอม สวนบริเวณปาที่ถูกบุกรุกแลว ควรเรงปลูกปา

                  ทดแทน และ 2) พื้นที่ซึ่งมีความลาดเทนอยกวา 20 เปอรเซ็นต ควรใชประโยชนทางดานวนเกษตร อันประกอบดวย

                  กิจกรรมตอไปนี้ คือ ปลูกไมยืนตนหรือไมผลบางชนิด เลี้ยงสัตว ปลูกพืชไรแซมระหวางแถวไมผลหรือไมยืน

                  ตน เลี้ยงปลาในแหลงน้ําพัฒนา  และพัฒนาเปนทุงหญาเลี้ยงสัตว  ซึ่งเปนการใชประโยชนเชิงอนุรักษที่

                  เหมาะสมกับศักยภาพของดินและที่ดิน

                  8. สรุป

                         กลุมชุดดินที่ 61 ประกอบดวยดินหรือชุดดินหลายชุดที่มีสมบัติและลักษณะแตกตางกัน เชน เนื้อดิน  สี

                  ดิน ความลึกของดิน ปฏิกิริยาดิน  ตลอดจนความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติ ซึ่งไมแนนอน ขึ้นอยูกับชนิด

                  ของหินที่เปนวัตถุตนกําเนิดดินในบริเวณนั้นๆ

                         ปญหาการใชประโยชนทางการเกษตรที่สําคัญ ไดแก การชะลางพังทลายของหนาดินคอนขาง
                  รุนแรง ดินตื้น ความอุดมสมบูรณของดินต่ํา และขาดแคลนน้ําในการเพาะปลูก ดังนั้นในการจัดการดินควร
   637   638   639   640   641   642   643   644   645   646   647