Page 352 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 352

338



                  ระบายน้ํา มักใชไมไดผลกับพื้นที่ซึ่งเปนดินทราย ประกอบกับการเปดหนาดินยังเสี่ยงตอการชะลางพังทลาย

                  ของคันดินอีกดวย จึงควรเนนการอนุรักษดินและน้ําดวยวิธีการทางพืชเทานั้น

                          6.2 ปรับปรุงความอุดมสมบูรณของดิน  เนื่องจากกลุมชุดดินนี้มีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติ

                  ต่ํา จึงควรดําเนินการดังนี้ 1) ใชปุยอินทรีย เชน ปุยหมักหรือปุยคอกอัตรา 1-2 ตัน/ไร หรือปลูกพืชตระกูลถั่ว

                  แลวไถกลบเปนปุยพืชสด  ปุยอินทรียเหลานี้นอกจากจะปลดปลอยธาตุอาหารหลัก ธาตุอาหารรองและจุลธาตุ

                  ใหแกพืชอยางชาๆ แลว ยังชวยใหสมบัติทางกายภาพ เคมีและชีวภาพของดินดีขึ้น และ 2) ใชปุยเคมีเพื่อ
                  เสริมบางธาตุที่ยังขาดแคลน ใหเพียงพอตอการเจริญเติบโตของพืช


                          6.3 จัดระบบการปลูกพืช  เชน 1) ปลูกพืชหมุนเวียนซึ่งมีพืชตระกูลถั่วสลับกับพืชไรหรือพืชผักอื่นๆ

                  2) ใชพืชตระกูลถั่วเปนพืชแซมระหวางแถวพืชชนิดอื่น และ 3) ปลูกพืชตระกูลถั่วระหวางแถวพืชยืนตน

                          6.5 การพัฒนาแหลงน้ํา  เพื่อกักเก็บน้ําไวใชในกิจกรรมตางๆ กําหนดมาตรการเพื่อการใชน้ําอยาง

                  มีประสิทธิภาพ รวมทั้งการอนุรักษน้ําในดินโดยการใชวัสดุคลุมดินระหวางแถวพืชดวย

                  7. ขอเสนอแนะการใชประโยชนกลุมดินเพื่อการเกษตร


                         ดินในกลุมชุดดินนี้มีศักยภาพเหมาะกับการปลูกยางพารา ปาลมน้ํามัน กาแฟ  ไมผลและ หญา
                  เลี้ยงสัตวมากกวาการปลูกขาว เนื่องจากสภาพพื้นที่ไมเหมาะสมและดินกักเก็บน้ําไมได แตการใชประโยชน

                  จะใหผลสูงสุด เมื่อทําการเกษตรแบบผสมผสาน เชน การปลูกไมผลหรือไมยืนตนกับพืชไร  หรือไมผลกับ

                  หญาเลี้ยงสัตว โดยเลือกกิจกรรมที่เอื้อประโยชนซึ่งกันและกันมาผสมผสานกัน นอกจากนี้การตัดสินใจยัง

                  ตองพิจารณาปจจัยตอไปนี้ คือ สภาพพื้นที่  แหลงน้ํา ทักษะของเกษตรกร และความตองการผลผลิตของ

                  ตลาดภายในและภายนอกทองถิ่น

                  8. การเตรียมดินสําหรับปลูกพืชชนิดตางๆ

                          8.1 การเตรียมดินสําหรับปลูกพืชไร


                         ปญหาดินมีความอุดมสมบูรณต่ําขาดธาตุอาหารพืชบางชนิด

                         ใชปุยเคมี ชนิด สูตร อัตรา และวิธีการใชปุยจะขึ้นกับชนิดพืชที่ปลูกและผลการวิเคราะหดินใน

                  ตารางที่ 39.5 เปนเกณฑ

                          8.2 การเตรียมดินสําหรับปลูกพืชผัก

                         8.2.1 กวางตุง  ไถและตากดินไวประมาณ 7 วัน แลวไถพรวนอีก 1-2 ครั้ง เพื่อกําจัดวัชพืช หวาน

                  ปุยคอกหรือปุยหมักที่ยอยสลายดีแลว อัตรา 2 ตัน/ไร/ป ยกรองกวางประมาณ 1.5 เมตร ระยะหางระหวาง

                  รอง 30 ซม. กอนปลูกหวานปุยสูตร 20-10-10 อัตรา 25-30 กก./ไร


                         8.2.2 ถั่วฝกยาว  ไถเตรียมดินประมาณ 7 วัน แลวไถพรวนอีก 1-2 ครั้ง ใสปุยคอก หรือปุยหมักที่
                  ยอยสลายดีแลว อัตรา 2-4 ตัน/ไร
   347   348   349   350   351   352   353   354   355   356   357