Page 351 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 351

337



                                t   =  อุณหภูมิในชวงที่ปลูกไมเหมาะสม

                                m  =  ความชื้นในดินในชวงที่ปลูกไมเหมาะสม


                                o  =  ความสามารถในการระบายน้ําในชวงที่ปลูกไมเหมาะสม


                                s  =  สภาพธาตุอาหารพืชในชวงที่ปลูกไมเหมาะสม

                                r  =  สภาพดินไมเหมาะสมตอการเจริญเติบโตของรากพิจารณาเฉพาะเนื้อดิน


                                                   และโครงสรางดิน

                                z  =  สภาพปฏิกิริยาดิน(pH) ของดินไมเหมาะสม


                                k  =  ดินไมเหมาะสมตอการทําเขตกรรมพิจารณาเฉพาะความลึกดิน

                                                   เนื้อดิน และโครงสรางดิน


                                x  =  ดินมีอิทธิพลของเกลือ

                                w  =  พื้นที่ไมเหมาะสมตอการใชเครื่องจักรกล


                                e  =  พื้นที่งายตอการชะลาง

                  5. ปญหาและขอจํากัดในการปลูกพืช

                          5.1 การชะลางพังทลายของหนาดิน  ซึ่งเกิดมากในบริเวณที่มีความลาดชันสูง และมีความรุนแรง

                  ปานกลางในพื้นที่ซึ่งมีความลาดชันมากกวา 5  เปอรเซ็นตขึ้นไป การชะลางพังทลายเปนสาเหตุใหมีการ

                  สูญเสียหนาดินมาก จึงตองมีการอนุรักษดินและน้ําที่เหมาะสม


                          5.2 สมบัติทางกายภาพของดินไมเหมาะสม  เนื่องจากกลุมชุดดินนี้เปนดินเนื้อหยาบ โดยเฉพาะ
                  อยางยิ่งดินบนเปนดินทรายและมีอินทรียวัตถุต่ํา จึงอุมน้ําไดนอย ดังนั้นแมจะอยูในพื้นที่ซึ่งฝนชุก หากฝน

                  ทิ้งชวงก็ทําใหพืชขาดน้ําได


                          5.3 ความอุดมสมบูรณของดินต่ํา   ผลการวิเคราะหดินแสดงวาความจุในการแลกเปลี่ยนแคตไอออน
                  และระดับความเปนประโยชนของธาตุอาหารหลักในดินต่ํา จําเปนตองบํารุงดินดวยปุยอินทรียและปุยเคมี


                  6. การจัดการเพื่อใหความเหมาะสมในการปลูกพืช

                          6.1 การอนุรักษดินและน้ํา  กลุมชุดดินนี้เกิดการชะลางพังทลายไดงาย เนื่องจากเนื้อดินคอนขาง

                  เปนทรายและอยูในพื้นที่ซึ่งมีความลาดชันสูง ดังนั้นในบริเวณที่มีความลาดชันนอยกวา 12 เปอรเซ็นต ควร

                  ใชวิธีการทางพืชในการอนุรักษดิน เชน 1) ปลูกพืชคลุมดิน เพื่อปองกันมิใหเม็ดฝนกระแทกผิวดินโดยตรง 2) ปลูก
                  พืชเปนแถว หรือเปนแถบขวางความลาดเท 3) ปลูกหญาแฝกตามแนวระดับ 4) ปลูกพืชตระกูลถั่วสลับกับ

                  พืชหลัก  เพื่อขวางทิศทางการไหลบาของกระแสน้ํา การนําวิธีเชิงกล เชน  การทําคันดิน ขั้นบันไดดิน รอง
   346   347   348   349   350   351   352   353   354   355   356