Page 348 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 348

334



                         3.2.3 ชุดดินสะเดา (Sadao series: Sd)

                         จัดอยูใน coarse-loamy, kaolinitic, isohyperthermic Typic Kandiudults เกิดจากตะกอนลําน้ํา
                  เกาจากหินตะกอนเนื้อหยาบพัดพามาทับถม บนลานตะพักลําน้ําระดับกลางและระดับสูง  สภาพพื้นที่ที่พบ

                  มีลักษณะเปนลูกคลื่นลอนลาด ถึงลูกคลื่นลอนชัน มีความลาดชัน 3-10 เปอรเซ็นต ชุดดินนี้เปนดินลึกมาก

                  มีการระบายน้ําคอนขางมาก คาดวาดินมีความสามารถใหน้ําซึมผานไดเร็ว มีการไหลบาของน้ําบนผิวดิน

                  เร็ว ตามปกติแลวระดับน้ําใตดินอยูลึกกวา 1 เมตร ตลอดป
                         ดินบนลึกไมเกิน 15 ซม. มีเนื้อดินเปนดินทรายปนดินรวนปนทราย สีพื้นเปนสีน้ําตาล สีน้ําตาลเขม

                  หรือสีน้ําตาลปนแดง ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงกรดรุนแรงมาก(pH 4.5-5.0) สวนดินลางมีเนื้อดินเปน

                  ดินรวนปนทราย สีพื้นเปนสีแดงปนเหลือง และคอยๆ แดงขึ้นตามความลึก ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึง

                  กรดรุนแรงมาก(pH 4.5-5.0)

                         3.2.4 ชุดดินทุงหวา (Thung Wa series: Tg)

                         จัดอยูใน coarse-loamy,  siliceous,  subactive,  isohyperthermic Typic Paleudults  เกิดจาก
                  วัตถุเคลื่อนยายพวกหินแกรนิตบนที่ลาดเชิงเขา สภาพพื้นที่ที่พบมีลักษณะเปนลูกคลื่นลอนลาด ถึงเปนลูก

                  คลื่นลอนชันเล็กนอย มีความลาดชัน 3-7    เปอรเซ็นต ดินชุดนี้เปนดินลึก ถึงลึกมาก มีการระบายน้ํา

                  คอนขางมาก คาดวาดินมีความสามารถใหน้ําซึมผานไดเร็ว มีการไหลบาของน้ําบนผิวดินเร็ว ตามปกติแลว

                  ระดับน้ําใตดินอยูลึกกวา 1 เมตร ตลอดป

                         ดินบนลึกไมเกิน 15 ซม. มีเนื้อดินเปนดินรวนปนทราย สีพื้นเปนสีน้ําตาล ถึงสีเขมมากของสีน้ําตาล
                  ปนเทา ปฏิกิริยาดินเปนดินกรดจัดมากถึงกรดรุนแรงมาก(pH 4.5-5.0) ดินบนตอนลางดินลางมีเนื้อดินเปน

                  ดินรวนปนทราย สีพื้นเปนสีน้ําตาล ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงกรดจัดมาก(pH 5.0-5.5)

                          3.3 การประเมินความอุดมสมบูรณของดิน


                         การประเมินความอุดมสมบูรณของดินแตละชุดไดใชสมบัติทางเคมี 5  อยาง คือ คาความจุในการ

                  แลกเปลี่ยนแคตไอออน(CEC)  เปอรเซ็นตอิ่มตัวดวยเบส(base saturation percentage, %BS)  ปริมาณ
                  อินทรียวัตถุในดิน(OM) ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชน(avai.P) และโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได(exch.K) ซึ่งได

                  จากผลของการวิเคราะหดินที่เปนตัวแทนของชุดดินในกลุมชุดดินนี้  โดยพิจารณาเฉพาะผิวดินระดับความ

                  ลึก 0-30 ซม.  สําหรับวิธีประเมินใชวิธีการในคูมือการวินิจฉัยคุณภาพของดินสําหรับประเทศไทย ป 1973

                  (Soil Interpretation Handbook for Thailand, 1973) พิมพเผยแพรโดยกรมพัฒนาที่ดิน  ซึ่งผลของการ
                  ประเมินสรุปไดดังตารางที่ 39.5
   343   344   345   346   347   348   349   350   351   352   353