Page 323 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 323

309



                  ขึ้นไปเปนชวงที่ลําไยใหผลผลิตแลว ทําการกระตุนการแตกใบออนชุดที่ 1และ2 (ประมาณเดือนกันยายน)

                  ควรใชปุยสูตร 15-15-15 และปุยสูตร 46-0-0 ในอัตราเทากัน คือ 1 กก./ตน จากนั้นชวงกลางเดือนตุลาคม
                  เปนชวงที่ใหลําไยพักตัวเพื่อพรอมตอการออกดอกควรใชปุยสูตร 46-0-0 อัตรา 2 กก./ตน 4) ระยะลําไยติด

                  ผลควรบํารุงผลใหเจริญเติบโตดวยปุยสูตร 15-15-15 และปุยสูตร 46-0-0 ในอัตราเทากัน คือ 1 กก./ตน 5)

                  กอนเก็บเกี่ยวผลผลผลิต 1 เดือน สามารถเพิ่มผลผลิตดวยการใชปุยสูตร 0-0-60 อัตรา 1 กก./ตน และ 6)

                  หลังเก็บเกี่ยวผลผลิตใชปุยสูตร 15-15-15 และปุยสูตร 46-0-0 อัตรา 2 และ1 กก./ตนตามลําดับ

                         9.2.3 สมเขียวหวาน  1) อายุ 1 ปใชปุยสูตร 20-10-10 หรือปุยสูตร 25-7-7 หรือปุยสูตร 15-15-15

                  + 46-0-0 (สัดสวน 1:1) อัตรา 0.5-1.0 กก./ตน โดยแบงใส 4-6 เดือน/ครั้ง และปุยอินทรีย 10-20 กก./ตน

                  เพียงครั้งเดียวในชวงฤดูฝน 2) ปที่ 2-4 ใชปุยสูตรเดียวกันกับสมปที่ 1 แตเพิ่มอัตราเปน 1-2 กก./ตน โดยใส

                  3-4 เดือน/ครั้ง และปุยอินทรีย 20-50 กก./ตน เพียงครั้งเดียวในชวงฤดูฝน และ 3) อายุ 4 ปขึ้นไป ซึ่งสมจะ

                  เริ่มใหผลผลิต ควรแบงการใสปุยเปน 3 ชวง คือ ชวงกอนออกดอก ใสปุยสูตร 12-24-12 อัตรา 1 กก./ตน
                  และพนปุยธาตุรองและธาตุอาหารเสริมทางใบ ในระยะติดผล พนปุยธาตุรองและธาตุอาหารเสริมทางใบ

                  เชนเดียวกัน สําหรับชวงใกลเก็บเกี่ยวผลผลิตใชปุยสูตร 13-13-21 อัตรา 1-2 กก./ตน สวนหลังการเก็บเกี่ยว

                  ผลผลิตแลว ควรใชปุยสูตรเดียวกันกับที่ใชในสมอายุ 1 ป แตใสอัตรา 1-3 กก./ตน พนปุยธาตุรองและธาตุ

                  อาหารเสริมทางใบ และใสปุยอินทรีย 20-50 กก./ตน

                  10. สรุป

                         กลุมชุดดินที่ 37  พบบริเวณพื้นที่ดอน ซึ่งเปนตะพักลําน้ําระดับกลางและระดับสูง  บริเวณพื้นผิวที่

                  เหลือคางจากการกรอนและบริเวณที่ลาดเชิงเขา  มีลักษณะเปนลูกคลื่นลอนลาดถึงลูกคลื่นลอนชัน ความ

                  ลาดชันระหวาง 2-16 เปอรเซ็นต โดยทั่วไปไมมีน้ําแชขังบนผิวในฤดูฝน สวนในฤดูแลงพบระดับน้ําใตดินอยู

                  ลึกกวา 2 เมตร จัดเปนดินลึกปานกลาง ดินชั้นบนเปนดินทรายปนดินรวน สีน้ําตาล หรือสีน้ําตาลปนเทา ลึก
                  ลงไปเปนดินรวนปนทราย สวนดินชั้นลาง ระดับความลึก 50-100 ซม. เปนดินเหนียว ดินเหนียวปนเศษหิน

                  หรือกรวดลูกรัง หรือเปนชั้นหินผุ สีดินเปนสีน้ําตาลปนเทา สีน้ําตาลปนเหลือง หรือสีแดงปนเหลือง อาจพบ

                  จุดประสีแดงและศิลาแลงออนปะปนอยูเปนจํานวนมาก  บางแหงพบชั้นหินตนกําเนิดที่กําลังผุพังสลายตัว

                  ปฏิกิริยาดินคอนขางเปนกรดจัด มีคาพีเอช 4.5-5.5

                         ผลการวิเคราะหดินทางเคมี 5 รายการแสดงวา ดินมีอินทรียวัตถุ  ความจุในการแลกเปลี่ยนแคต

                  ไอออน ความอิ่มตัวดวยเบส  ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนและโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนไดต่ําทุกรายการ จึง

                  สรุปไดวากลุมชุดดินนี้มีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติอยูในเกณฑต่ํา

                         สําหรับปญหาโดยทั่วไปมีดังนี้ คือ 1) ดินบนมีความสามารถในการอุมน้ําไดนอยและซาบซึมน้ําเร็ว

                  แตอัตราการซาบซึมน้ําชาลงในดินลาง 2) บางบริเวณดินอาจเปยกแฉะเกินไปสําหรับพืชไรบางชนิดใน
   318   319   320   321   322   323   324   325   326   327   328