Page 305 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 305

291



                  7. ขอเสนอแนะ

                         กลุมชุดดินที่ 36 มีศักยภาพเหมาะสมในการปลูกพืชไร ไมผลหรือไมยืนตน และพัฒนาเปนทุงหญา

                  เลี้ยงสัตว แตไมเหมาะสมกับการทํานา เนื่องจากเปนที่ดอน มีลักษณะเปนลูกคลื่นลอนลาดถึงที่ลาดเชิงเขา

                  ไมอาจกักเก็บน้ําเพื่อการปลูกขาวได จึงใชประโยชนได 2 แบบ คือ 1) ปลูกพืชเชิงเดี่ยว เชน ปลูกพืชไร หรือ

                  ไมผลหรือปลูกหญาเลี้ยงสัตว และ 2) การทําเกษตรแบบผสมผสาน เชน ปลูกพืชไร-ไมผล-พืชผัก หรือ ปลูก
                  พืชไร-ไมผล-หญาเลี้ยงสัตว  หรือไมผล-หญาเลี้ยงสัตว เปนตน  สําหรับการเลือกระบบของการผสมผสาน

                  ขึ้นอยูกับสภาพพื้นที่  ทักษะของเกษตรกร  ผลิตผลทางการเกษตรที่ตลาดตองการ และปจจัยการผลิต เชน

                  แหลงน้ํา อยางไรก็ตามเกษตรกรควรเลือกกิจกรรมที่เอื้อประโยชนซึ่งกันและกันเปนอันดับแรก เชน การเลี้ยง

                  สัตวควบคูกับการปลูกไมผล เพื่อนํามูลสัตวมาเปนปุยบํารุงดินในสวนไมผล  นอกจากนี้ยังควรใชพื้นที่
                  ระหวางแถวไมผลสําหรับปลูกหญาเลี้ยงสัตวดวย

                         พืชที่แนะนําใหปลูกมีดังนี้ 1) ไมผล ไดแก มะมวง ขนุน  มะขามหวาน สม มะละกอ และสับปะรด

                  2) พืชไร ไดแก มันสําปะหลัง ขาวโพด ถั่วลิสง ถั่วเขียว ถั่วเหลือง ละหุง งา ฝาย และออย และ 3) พืชผักจะ

                  ปลูกไดดีโดยเฉพาะในชุดดินปราณบุรี เชน พวกกะหล่ํา ผักกาด มะเขือ พริก ถั่วฝกยาว แตงกวา และอื่นๆ

                  8. การเตรียมดินสําหรับปลูกพืชชนิดตางๆ

                          8.1 การเตรียมดินสําหรับปลูกพืชไร


                         8.1.1 ปญหาการการชะลางพังทลายของหนาดินและขาดแคลนน้ําในบางชวง

                         1) ไถเตรียมดินปลูกตามแนวระดับขวางความลาดเทของพื้นที่


                         2) ทําคันดินขวางการลาดเทของพื้นที่ชวยชะลอการไหลบาของน้ําที่ผิวดินเมื่อฝนตกหนัก

                         3) ขุดบอดักตะกอนเพื่อชวยชะลอการไหลบาของน้ําที่ผิวดิน และยังสามารถใชน้ําเสริมในการ

                  เพาะปลูก

                         4) นํามาตรการการอนุรักษดินและน้ํามาใช เชน การปลูกพืชเปนแถวขวางความลาดเทของพื้นที่

                  และการปลูกพืชตระกูลถั่วแซมพืชหลัก เปนตน


                         8.1.2 ปญหาดินขาดธาตุอาหารพืชบางอยาง และดินขาดความชื้นในบางชวง

                         1) ใสปุยหมัก หรือปุยคอกอัตรา 1.5-2.0 ตัน/ไร หรือปลูกปุยพืชสดแลวไถกลบลงดินเมื่อปุยพืชสด

                  ออกดอกไดประมาณ 50 เปอรเซ็นต

                         2) ปลูกพืชตระกูลถั่วสลับกับพืชไรหลัก หรือปลูกพืชตระกูลถั่วแซมกับพืชหลัก จะชวยรักษาและ

                  เพิ่มความอุดมสมบูรณใหแกดิน และยังชวยเพิ่มความสามารถในการอุมน้ําของดินดวย


                         3) ใสปุยเคมี สูตร อัตรา และวิธีการใชขึ้นอยูกับชนิดของพืช รวมกับผลการวิเคราะหดินในตารางที่
                  36.5
   300   301   302   303   304   305   306   307   308   309   310