Page 43 - คู่มือการสำรวจดิน
P. 43

30.2 วิธีการจําแนกเนื้อดิน

                    การแยกเนื้อดินเมื่อทําการสํารวจดิน  โดยมากเราอาศัยการสัมผัสดวยมือ  เพราะเปนวิธีที่รวดเร็วและมีความ
            ถูกตองพอควร แตการใชความรูสึกเมื่อสัมผัสดินนี้จะตองมีการฝกฝนหรือมีความชํานาญอยูบางแลว ซึ่งมีหลักสังเกตได

            ดังนี้

                    1. การใชความรูสึกเมื่อสัมผัส (feel method) อาศัยหลักดังนี้
                        Sand : จะรูสึกสากมือ เนื้อดินไมเกาะตัวกัน จะเห็นเม็ดทรายอาจจะบีบไดเมื่อเปยก แตเมื่อกระทบเขาจะ

            แตกหมด

                        Sandy loam :  ประกอบดวยทรายเปนสวนใหญ  แตจะมีดินทรายแปงและดินเหนียวปนบาง  ทําใหเกิด

            ความเหนียวขึ้น   การเกาะตัวดีกวาดินทรายและพอมองเห็นเม็ดทรายได  มีการเกาะตัวดี  พอควรเมื่อมีความชื้น  และจะ
            แตกเมื่อออกแรงบีบเล็กนอย

                        Loam : เปนดินที่มีอัตราสวนของ sand, silt และ clay เกือบเทากัน เวลาบี้จะรูสึกสากมือเล็กนอย มีความ

            เหนียวพอควร ถาปนเมื่อเปยกจะคงรูปอยูไดไมแตก

                        Silt loam :  เปนดินที่มีทรายละเอียดพอประมาณ มีดินเหนียวเล็กนอย มีดินทรายแปงประมาณครึ่งหนึ่ง
            เมื่อแหงจะแข็งเปนกอน  ถาบี้ใหแตกจะคลายฝุนแปง  มีลักษณะลื่นและออนนุม  แตไมสามารถจะทําเปนแผนบางๆ

            คลายริบบิ้นได

                        Silt : เปยกจะลื่นและเนียนมือ รูสึกเหนียวนอยกวาดินเหนียว
                        Clay loam : มีเนื้อดินละเอียด จะแข็งเมื่อแหงและมักจะเปนกอน ในสภาพชื้นจะทําริบบิ้นได แตลื่นกวา

            พวกดินเหนียว สามารถปนเปนรูปตางๆ ไดและไมรูสึกสากมือ

                        Sandy clay loam : เมื่อแหงจะแข็งเหมือนกับ clay loam แตรูสึกสากมือเมื่อเปยก ปนเปนรูปรางได แตไม
            คอยคงทน

                        Silty clay loam : เมื่อดินชื้นคลาย clay loam แตมีความรูสึกเนียนและนุมมือกวา ปนเปนรูปรางได

                        Sandy clay : รูสึกเหนียวและสากมือ เมื่อแหงจะแข็งมาก มีความเหนียวมากเมื่อเปยก
                        Clay : มีเนื้อละเอียดมาก  จับเปนกอนแข็งเมื่อแหง  และจะเหนียวเมื่อเปยก  สามารถทําเปนริบบิ้นได

            สามารถปนเปนรูปรางได แตดินที่มีพวก  Kaolinite มาก จะไมเหนียวติดมือ

                    2. การทําเปนแผนบางๆ (Ribbon method) โดยอาศัยความเหนียวของดิน (Plasticity) เมื่ออยูในสภาพที่ชื้น

            หรือเปยก เอาดินมาทําเปนแผนหนาประมาณ 1-2 มม. แลวสังเกตดูวาจะทําใหเปนแผนบางๆ ไดยาวแคไหน
                    ถาเปนดินทรายจะทําเปนแผนบางๆ ไดยาวไมเกิน 1 ซม.

                    ถาเปนดินทรายแปงจะทําเปนแผนบางๆ ไดยาวไมเกิน 1-3 ซม.

                    ถาเปนดินเหนียวจะทําเปนแผนบางๆ ไดยาวไมเกิน >3 ซม.









                                                           36
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48