Page 33 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคเหนือและที่สูงตอนกลางของประเทศไทย
P. 33
23 ชุดดินลําสนธิ (Lam Sonthi series: Ls)
กลุมชุดดินที่ 31
การจําแนกดิน Fine, mixed, active, isohyperthermic Oxyaquic (Ultic) Haplustalfs
การกําเนิด เกิดจากตะกอนน้ําพาบริเวณสันดินริมน้ําหรือเนินตะกอนรูปพัด
สภาพพื้นที่ คอนขางราบเรียบถึงเปนลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย ความลาดชัน 1-3 %
การระบายน้ํา ดีปานกลาง
การไหลบาของน้ําบนผิวดิน ชา
การซึมผานไดของน้ํา ปานกลาง
พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน ปาเต็งรัง ไมพุมหนาม ทุงหญาธรรมชาติ
ทํานา บางแหงปลูกพืชไร เชน ขาวโพด ถั่ว งา
การแพรกระจาย พบมากบริเวณที่สูงตอนกลางของประเทศ
การจัดเรียงชั้นดิน Ap(A)-Bt-(Bw or C)
ลักษณะและสมบัติดิน เปนดินลึกมาก ดินบนเปนดินรวนหรือดินรวนปนดินเหนียว สีน้ําตาล
เขมหรือสีน้ําตาลปนเทาเขมมาก ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงเปนกรดเล็กนอย (pH5.5-6.5) ดิน
ลางตอนบนเปนดินรวนเหนียวถึงดินเหนียว สีน้ําตาลถึงสีน้ําตาลเขม มีจุดประสีแดงและสีน้ําตาล
ปนเหลือง ปฏิกิริยาดินเปนกรดเล็กนอยถึงเปนดางปานกลาง (pH 6.5-8.0) ดินลางตอนลางเปน
ดินเหนียวสีน้ําตาลสีน้ําตาลปนเทา มีจุดประสีแดงปนเหลืองและสีแดง และพบกอนปูนทุติยภูมิปะปน ปฏิกิริยาดินเปนกลาง
ถึงเปนดางปานกลาง (pH 7.0-8.0)
ความลึก อินทรียวัตถุ ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม ความอุดมสมบูรณ
(ซม.) แคตไอออน ที่เปนประโยชน ที่เปนประโยชน ของดิน
0-25 ต่ํา ปานกลาง ปานกลาง ต่ํา สูง ปานกลาง
25-50 ต่ํา สูง ปานกลาง ต่ํา สูง ปานกลาง
50-100 ต่ํา สูง สูง ต่ํา สูง ปานกลาง
ชุดดินที่คลายคลึงกัน ชุดดินดงยางเอน
ขอจํากัดการใชประโยชน ดินตอนบนมักแนนทึบ รากชอนไชไดยาก
ขอเสนอแนะในการใชประโยชน ไถพรวนใหลึกกวาปกติ ปรับปรุงดวยอินทรียวัตถุและใชปุยอินทรียรวมกับปุยเคมี
เพื่อเพิ่มผลผลิตใหสูงขึ้น
25