Page 31 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคเหนือและที่สูงตอนกลางของประเทศไทย
P. 31

21  ชุดดินลํานารายณ (Lam Narai series: Ln)





                                  กลุมชุดดินที่   54
                                  การจําแนกดิน     Fine, smectitic, isohyperthermic Vertic Haplustolls

                                  การกําเนิด       เกิดจากการผุพังสลายตัวของหินบะซอลท  หินแอนดีไซท  และหินปูน  บริเวณ
                                                   พื้นที่ภูเขา รวมถึงที่เกิดจากวัสดุดินหรือหินที่เคลื่อนยายมาเปนระยะทางใกลๆ

                                                   โดยแรงโนมถวงบริเวณเชิงเขา  หรือเกิดจากตะกอนน้ําพา  บริเวณเนินตะกอน
                                                   รูปพัด

                                  สภาพพื้นที่      ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอยถึงลูกคลื่นลอนลาด ความลาดชัน 3-6 %
                                  การระบายน้ํา                   ดี

                                  การไหลบาของน้ําบนผิวดิน       ชาถึงปานกลาง
                                  การซึมผานไดของน้ํา           ปานกลาง

                                  พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน       ปาเบญจพรรณ พืชไร เชน ขาวโพด ขาว
                                                   ฟาง ถั่ว ทานตะวัน หรือไมผล เชน นอยหนา ขนุน มะมวง

                                  การแพรกระจาย           พบมากบริเวณที่สูงตอนกลางของประเทศ
                                  การจัดเรียงชั้นดิน      Ap(A)-Bw-Ck

                                  ลักษณะและสมบัติดิน      เปนดินลึกปานกลาง  พบชั้นหินผุและกอนปูนทุติยภูมิที่ระดับความ
               ลึก 50-100 ซม. ดินบนเปนดินรวนปนดินเหนียวหรือดินเหนียว สีน้ําตาลเขมหรือสีน้ําตาลปนแดงเขม ปฏิกิริยาดินเปนกลาง

               ถึงเปนดางปานกลาง (pH 7.0-8.0) ดินลางเปนดินเหนียวหรือดินเหนียวปนทรายแปง และพบกอนปูนทุติยภูมิปะปนในดิน
               ลางๆ และเศษหินผุ สีน้ําตาลปนแดงหรือสีแดง ปฏิกิริยาดินเปนดางปานกลาง (pH 8.0) เมื่อดินแหง อาจแตกระแหงเปน

               รองลึก ดินชั้นลางจะพบรอยถูไถเปนมัน

                 ความลึก    อินทรียวัตถุ  ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส   ฟอสฟอรัส   โพแทสเซียม  ความอุดมสมบูรณ
                  (ซม.)                    แคตไอออน                     ที่เปนประโยชน  ที่เปนประโยชน   ของดิน

                  0-25       ปานกลาง          สูง            สูง         ปานกลาง           สูง            สูง
                  25-50         ต่ํา          สูง            สูง         ปานกลาง           สูง         ปานกลาง

                 50-100         ต่ํา          สูง            สูง         ปานกลาง           สูง         ปานกลาง

               ชุดดินที่คลายคลึงกัน         ชุดดินจัตุรัส

               ขอจํากัดการใชประโยชน       ดินลึกปานกลางและพบชั้นปูนทุติยภูมิในดินลาง ซึ่งจะมีผลกระทบทางกายภาพและ
               ทางเคมีสําหรับพืชที่มีระบบรากลึก  ดินอาจขาดสมดุลของธาตุอาหาร  โดยเฉพาะการขาดฟอสฟอรัสและจุลธาตุบางชนิด

               เมื่อดินแหง ดินอาจแตกระแหงทําใหรากพืชเสียหายได
               ขอเสนอแนะในการใชประโยชน  การปลูกพืชที่มีระบบรากลึกเชนไมผล  จําเปนตองปรับปรุงสมบัติทางกายภาพและ

               เคมีของดินลางในเบื้องตนโดยการใชอินทรียวัตถุผสมคลุกเคลาและใชปุยเคมีโดยเฉพาะฟอสฟอรัสในรูปที่ละลายชา  และ
               ใหเพิ่มจุลธาตุเมื่อพืชแสดงอาการขาด จัดหาแหลงน้ําสํารองไวใชเมื่อฝนทิ้งชวง เพื่อปองกันไมใหดินแตกระแหงและทําลาย

               ระบบรากของพืช ถามีพื้นที่พอ


                                                                                                              23
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36