Page 30 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคเหนือและที่สูงตอนกลางของประเทศไทย
P. 30

20  ชุดดินหลมเกา (Lom Kao series: Lk)





                                    กลุมชุดดินที่   17
                                    การจําแนกดิน  Fine-loamy, mixed, semiactive, isohyperthermic Typic (Aquic)

                                                   Paleustults
                                    การกําเนิด     เกิดจากตะกอนน้ําพาบริเวณสวนต่ําของเนินตะกอนรูปพัดและที่ราบระหวางเขา

                                    สภาพพื้นที่    ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบ ความลาดชัน 0-2 %

                                    การระบายน้ํา                คอนขางดีถึงคอนขางเลว
                                    การไหลบาของน้ําบนผิวดิน    ชา

                                    การซึมผานไดของน้ํา        ชา
                                    พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน  ปจจุบันพื้นที่สวนใหญไดดัดแปลงใชทํานา

                                                   ในชวงฤดูฝน  และใชปลูกพืชไร  เชน  ขาวโพด  ถั่ว  หรือพืชผัก  กอนหรือหลัง

                                                   ปลูกขาว
                                    การแพรกระจาย         พบมากในเขตที่สูงตอนกลางของประเทศ บริเวณสวนต่ําของเนิน

                                                          ตะกอนรูปพัดและที่ราบระหวางเขา
                                    การจัดเรียงชั้นดิน    Ap-Bt-Btg

                                    ลักษณะและสมบัติดิน  เปนดินลึกมาก ดินบนเปนดินรวนหรือดินรวนปนทราย สีน้ําตาลหรือ
               สีน้ําตาลเขม มีจุดประสีน้ําตาลหรือสีแดงปนเหลือง ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดเล็กนอย (pH 5.0-6.5) ดินลาง

               ตอนบนเปนดินรวนเหนียวปนทราย  สีน้ําตาลปนแดงถึงสีออนของสีน้ําตาลปนแดง  มีจุดประสีแดงปนเหลือง  และสีน้ําตาล

               ปนเหลือง  ดินลางตอนลางเปนดินรวนเหนียวปนทรายถึงดินเหนียวปนทราย  สีเทาปนชมพูหรือสีเทาปนน้ําตาลออน  มีจุด
               ประสีแดงปนเหลืองและสีน้ําตาลปนเหลือง ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดจัด (pH 4.5-5.5)


                 ความลึก    อินทรียวัตถุ  ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส   ฟอสฟอรัส   โพแทสเซียม  ความอุดมสมบูรณ
                  (ซม.)                    แคตไอออน                     ที่เปนประโยชน  ที่เปนประโยชน   ของดิน
                  0-25          ต่ํา          ต่ํา         ปานกลาง          ต่ํา           ต่ํา          ต่ํา

                  25-50         ต่ํา          ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา          ต่ํา
                 50-100         ต่ํา          ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา          ต่ํา


               ชุดดินที่คลายคลึงกัน         ชุดดินรอยเอ็ด

               ขอจํากัดการใชประโยชน       ความอุดมสมบูรณของดินต่ํา
               ขอเสนอแนะในการใชประโยชน  ปรับปรุงบํารุงดินโดยใชอินทรียวัตถุ และเพิ่มผลผลิตโดยใชปุยอินทรียรวมกับปุยเคมี

               ในพื้นที่ชลประทาน นอกฤดูทํานาอาจปลูกพืชไรหรือพืชผักซึ่งจะตองยกรอง และปรับสภาพดินใหรวนซุยและระบายน้ําดีขึ้น

               โดยการเพิ่มอินทรียวัตถุ






                                                                                                              22
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35