Page 27 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคเหนือและที่สูงตอนกลางของประเทศไทย
P. 27

17  ชุดดินกําแพงเพชร (Kamphaeng Phet series: Kp)





                                    กลุมชุดดินที่   33
                                    การจําแนกดิน  Fine-silty, mixed, active, isohyperthermic Oxyaquic (Ultic) Haplustalfs

                                    การกําเนิด     เกิดจากตะกอนน้ําพาบริเวณสันดินริมน้ํา
                                    สภาพพื้นที่    คอนขางราบเรียบถึงเปนลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย ความลาดชัน 1-3 %

                                    การระบายน้ํา                ดีปานกลาง

                                    การไหลบาของน้ําบนผิวดิน    ชา
                                    การซึมผานไดของน้ํา        ปานกลาง

                                    พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน     พืชไร เชน ขาวโพด ออย ยาสูบ ถั่วตางๆ
                                                   พืชผัก และไมผล

                                    การแพรกระจาย         พบมากในภาคเหนือ

                                    การจัดเรียงชั้นดิน    Ap(A)-Bt
                                    ลักษณะและสมบัติดิน  เปนดินลึกมาก ดินบนเปนดินรวนหรือดินรวนปนทรายแปง  สีน้ําตาล

                                    ถึงสีน้ําตาลเขม  ปฏิกิริยาดินเปนกรดปานกลางถึงเปนกลาง (pH 6.0-7.0) ดินลางเปนดินรวนปน
                                    ทรายแปงถึงดินรวนเหนียวปนทรายแปง  สีน้ําตาลหรือสีน้ําตาลปนเหลือง  ปฏิกิริยาดินเปนกรด

                                    จัดถึงเปนกรดเล็กนอย (pH 5.5-6.5)

                 ความลึก    อินทรียวัตถุ  ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส   ฟอสฟอรัส   โพแทสเซียม  ความอุดมสมบูรณ
                  (ซม.)                    แคตไอออน                     ที่เปนประโยชน  ที่เปนประโยชน   ของดิน

                  0-25          ต่ํา          ต่ํา         ปานกลาง       ปานกลาง           สูง         ปานกลาง

                  25-50         ต่ํา          ต่ํา         ปานกลาง          ต่ํา           สูง         ปานกลาง
                 50-100         ต่ํา          ต่ํา         ปานกลาง          ต่ํา        ปานกลาง          ต่ํา

               ชุดดินที่คลายคลึงกัน         ชุดดินกําแพงแสน  และชุดดินดงยางเอน
               ขอจํากัดการใชประโยชน       ดินที่ใชปลูกพืชไรมานาน ใตชั้นไถพรวนมักแนนทึบ รากชอนไชไดยาก

               ขอเสนอแนะในการใชประโยชน  ทําลายชั้นดานใตชั้นไถพรวนโดยไถใหลึกกวาปกติ  และใชอินทรียวัตถุในการปรับ

               สภาพดินใหรวนซุย ปรับปรุงบํารุงดินอยูเสมอโดยเพิ่มอินทรียวัตถุ และใชปุยอินทรียรวมกับปุยเคมีเพื่อเพิ่มผลผลิตใหสูงขึ้น



















                                                                                                              19
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32