Page 49 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคใต้ และชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกของประเทศไทย
P. 49

37  ชุดดินละหาน (Lahan series: Lh)



                                 กลุมชุดดินที่   34

                                 การจําแนกดิน  Fine-loamy, siliceous, subactive, isohyperthermic Typic Paleudults
                                 การกําเนิด    เกิดจากการผุพังสลายตัวอยูกับที่ และ/หรือ เคลื่อนยายมาเปนระยะทางใกลๆ

                                                    โดยแรงโนมถวงของหินแกรนิตหรือหินในกลุม (ในสภาพพื้นที่ที่เปนหินแกรนิต)
                                 การระบายน้ํา                ดี

                                 การไหลบาของน้ําบนผิวดิน    ปานกลาง

                                 การซึมผานไดของน้ํา        ปานกลาง
                                 สภาพพื้นที่   คอนขางราบเรียบถึงเปนลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย มีความลาดชัน 0-5 %

                                 พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน ปาไมพุมเตี้ย ยางพารา มะพราว ปาลมน้ํามัน
                                                     และไมผล

                                 การแพรกระจาย        พบแพรกระจายทั่วไปในพื้นที่ภาคใตและพื้นที่ชายฝงทะเลภาคตะวันออก
                                 การจัดเรียงชั้น      Ap-BA-Bt

                                 ลักษณะและสมบัติดิน  ดินรวนละเอียดลึกมาก  ดินบนเปนดินรวนปนทรายขนาดปานกลางถึง

                                 ทรายหยาบ  มีสีน้ําตาลถึงสีน้ําตาลปนเทา  ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงเปนกรดปานกลาง (pH 5.5-
               6.0) ดินลางมีเนื้อดินเปนดินรวนเหนียวปนทรายหยาบ มีสีเทาหรือสีเทาปนน้ําตาลและดินชั้นลางถัดลงไป มีเนื้อดินเปนดิน

               รวนเหนียวปนทรายหยาบ ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดจัด (pH 4.5-5.5)


                ความลึก    อินทรียวัตถุ  ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส   ฟอสฟอรัส   โพแทสเซียม  ความอุดมสมบูรณ
                  (ซม.)                  แคตไอออน                     ที่เปนประโยชน  ที่เปนประโยชน   ของดิน
                  0-25        ต่ํา          ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา          ต่ํา
                 25-50        ต่ํา          ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา          ต่ํา

                 50-100       ต่ํา          ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา          ต่ํา


               ชุดดินที่คลายคลึงกัน               ชุดดินหวยโปง  และชุดดินคลองนกกระทุง
               ขอจํากัดการใชประโยชนที่ดิน       ความอุดมสมบูรณต่ํา เนื้อดินเปนดินปนทรายและขาดแคลนน้ํา

               ขอเสนอแนะในการใชประโยชนที่ดิน    เหมาะสมดีสําหรับปลูกไมยืนตน ยางพารา ปาลมน้ํามัน และไมผล
               เหมาะสมปานกลางสําหรับปลูกพืชไร มีขอจํากัดที่มีความอุดมสมบูรณต่ํา มีเนื้อดินเปนดินปนทรายและขาดแคลนน้ํา ควร

               มีการปรับปรุงดินดวยพืชปุยสดหรือปรับปรุงหลุมปลูกดวยปุยหมักปุยคอกรวมกับปุยเคมีและปุยอินทรียน้ํา พด.2 พัฒนา

               แหลงน้ําไวใชในชวงที่พืชขาดน้ํา










                                                                                                            39
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54