Page 26 - การศึกษาต้นทุนและผลตอบแทนในการผลิตพืชในพื้นที่ ลุ่มน้ำสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันตก ส่วนที่ 2 ปีการผลิต 2541/42
P. 26

17





                             จากผลของการสํารวจสภาพทั่วไปของเกษตรกรในการปลูกพืชชนิดตางๆ  ในพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                  ภาคใตฝงตะวันตกสวนที่ 2  ปรากฏวา  การปลูกขาวเจานาดําพันธุพื้นเมืองมีอยู 2  หนวยที่ดิน  ไดแก
                  หนวยที่ดินที่ 5  และหนวยที่ดินที่ 17  เกษตรกรหัวหนาครอบครัวมีอายุเฉลี่ยใกลเคียงกันคือ 57.00  ป

                  สวนใหญนับถือศาสนาพุทธ โดยเฉพาะหนวยที่ดินที่ 5 สวนเกษตรกรในหนวยที่ดินที่ 17 มีการนับถือ

                  ศาสนาอิสลามมากกวานับถือศาสนาพุทธ  ระดับการศึกษาสวนใหญจบชั้นประถมศึกษา  รองลงมาจบชั้น

                  มัธยมศึกษา สมาชิกในครอบครัวทําการเกษตร รองลงมาทําการเกษตรในครอบครัวและรับจางในการเกษตร
                  ในสวนของการเปนสมาชิกสถาบันการเกษตร  เกษตรกรทั้ง 2  หนวยที่ดินเขาเปนสมาชิกโดยที่เกษตรกร

                  ในหนวยที่ดินที่ 5    เขาเปนสมาชิกมากกวาเกษตรกรในหนวยที่ดินที่ 17  รอยละ 83.33  และ 60.00

                  แทบทั้งหมดเปนสมาชิกของธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ  มีเพียงเกษตรกรในหนวยที่ดินที่ 17
                  เปนสมาชิกของสหกรณการเกษตรอยูดวยเพียงรอยละ 33.33  เนื้อที่ถือครองเฉลี่ยครอบครัวละ 5.00  ไร

                  สวนใหญเปนที่ของตนเอง  โดยเฉพาะหนวยที่ดินที่ 5  เปนที่ของตนเองทั้งหมด  มีหนังสือสําคัญในที่ดิน

                  เปน น.ส.3 มากที่สุดรอยละ 71.79 ส.ค.1 รอยละ 22.64 และโฉนดรอยละ 5.57 ตามลําดับ สวนหนวยที่ดิน
                  ที่ 17 นอกจากเปนที่ถือครองของตนเองแลวยังมีที่เชาอยูเล็กนอยเฉลี่ยครอบครัวละ 1.50 ไร หนังสือสําคัญ

                  ในที่ดินสวนใหญเปน  น.ส.3  เชนเดียวกันรอยละ 50.89  เกษตรกรผูผลิตขาวเจานาดําพันธุพื้นเมืองทั้ง 2

                  หนวยที่ดิน มีปญหาในการครองชีพเหมือนกัน มากที่สุดไดแก รายไดไมพอรายจาย

                             การผลิตยางพารา (พันธุRRIM600) มีการผลิตใน 3 หนวยที่ดินไดแก หนวยที่ดินที่ 26  26B

                  และ 26C อายุเฉลี่ยของหัวหนาครอบครัว 53.95-55.45 ป นับถือศาสนาพุทธทั้งหมดในหนวยที่ดินที่ 26

                  และ 26C  นับถือศาสนาอิสลามเพียงสวนนอยรอยละ 18.39  ในหนวยที่ดินที่ 26B  หัวหนาครอบครัว
                  จบการศึกษาระดับชั้นประถมศึกษามากที่สุด  รองลงมาจบระดับมัธยมศึกษา  สมาชิกในครอบครัวสวนใหญ

                  ของทุกหนวยที่ดินที่ผลิตยางทําการเกษตรในครอบครัว  รองลงมาทําการเกษตรในครอบครัวและรับจาง

                  นอกการเกษตร ในหนวยที่ดินที่ 26 และ 26B สวนพวกที่ไมไดทํางานสวนใหญไดแก พวกที่กําลังเรียน

                  หนังสือ คนชราและเด็กเล็ก เปนตน นอกจากนี้หัวหนาครอบครัวสวนมากเปนสมาชิกสถาบันการเกษตร
                  สถาบันการเกษตรที่หัวหนาครอบครัวสวนใหญเปนสมาชิกไดแก  ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ

                  สหกรณการเกษตรและกลุมเกษตรกร  ตามลําดับ  ประโยชนที่ไดรับเปนเรื่องของเงินทุนและการจัดหา

                  วัสดุการเกษตรมาจําหนาย เปนตน  เกษตรกรที่ผลิตยางพาราในหนวยที่ดินที่ 26 B และ 26C  มีเนื้อที่
                  ถือครองเฉลี่ยครอบครัวละ 11.43 ไร และ 12.03 ไร ตามลําดับ ในขณะเดียวกันเกษตรกรหนวยที่ดินที่ 26

                  มีเนื้อที่ถือครองของตนเองมากที่สุดเชนเดียวกันเฉลี่ยครอบครัวละ 14.65 ไร แตเกษตรกรในหนวยที่ดินที่

                  26C   มีเนื้อที่เขาทําเปลามากกวาเฉลี่ยครอบครัวละ 1.71  ไ  ร  สําหรับหนังสือสําคัญในที่ดินของตนเอง
                  สวนใหญในหนวยที่ดินที่ 26 เปน น.ส.3 และ ภ.บ.ท.5และ 6 รอยละ 30.82 รองลงมาไดแก ส.ป.ก. และ

                  น.ส.3ก ตามลําดับ หนวยที่ดินที่ 26B เปน ส.ป.ก. มากที่สุดรอยละ 28.04 รองลงมาเปน น.ส.3ก รอยละ

                  26.87 เปนตน และหนวยที่ดินที่ 26C สวนใหญเปน น.ส.3ก รอยละ 38.99 รองลงมาเปน ภ.บ.ท.5และ6
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31